Page 146 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 146
284 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2562
ถ้าได้นําไปปฏิบัติจะมีโอกาสเกิดความยั่งยืนได้โดย เท่ากับ 1.96 (ความเชื่อมั่น 95%) > Z = 1.96
การวัดค่าทางสถิติ d คือ สัดส่วนความคลาดเคลื่อนที่ยอม
รูปแบบการวิจัยเป็นการศึกษาเชิงปริมาณ ให้เกิดขึ้นได้ จะต้องสอดคล้องกับค่า z ที่ระดับความ
และเป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวาง และใช้สถิติ เชื่อมั่นนั้น ๆ ในที่นี้ระดับความเชื่อมั่น 95% สัดส่วน
เชิงพรรณาและอนุมาน ในการวิจัยโดยการใช้ ความคลาดเคลื่อนเท่ากับ 0.05 ดังนั้นแทนค่าใน
แบบสอบถามในการวัดความยั่งยืนของเทคนิค สูตร
ยา 9 เม็ด และประชากรที่ใช้ในการศึกษา (study
population) คือกลุ่มประชาชนทั้งผู้ที่เคยเข้ารับ
การอบรมในค่ายสุขภาพตามแนวทางแพทย์ทาง
เลือกวิถีธรรมเพื่อการพึ่งตนตามแนวเศรษฐกิจพอ
เพียง ระหว่างโครงการในปี พ.ศ. 2559 และผู้ที่ไม่ เพื่อป้องกันความผิดพลาดในการเก็บข้อมูล
เคยเข้ารับการอบรมในพื้นที่ของหน่วยงานและสถาน และการตอบแบบสอบถามของกลุ่มตัวอย่างที่อาจ
บริการสาธารณสุขที่มีการดําเนินงานแพทย์ทางเลือก เกิดขึ้นได้ ดังนั้นผู้วิจัยจึงกําหนดขนาดตัวอย่างให้มี
วิถีธรรมของจังหวัดราชบุรีเนื่องจากเป็นจังหวัดที่มี จํานวน 330 คน โดยแจ้งไปยังเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติ
อัตราป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของผู้ป่วยที่เข้า จากสถานบริการสาธารณสุขที่เคยจัดกิจกรรมค่าย
รับการรักษาพยาบาล โดยเฉพาะโรคเบาหวาน (DM) สุขภาพวิถีธรรมทําการนัดหมายประชาชนที่เคยเข้า
สูงกว่าระดับประเทศ (อัตราป่วย DM จังหวัดราชบุรี รับการอบรมเพื่อทําการเก็บข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ใน
890 ต่อประชากรแสนคน ระดับประเทศ 523 ต่อ การเก็บรวบรวมข้อมูล จากกลุ่มตัวอย่างคือ กลุ่ม
ประชากรแสนคน) สําหรับจํานวนของตัวอย่างใน ประชาชนผู้เคยผ่านการอบรมในค่ายสุขภาพวิถีธรรม
[3]
กลุ่มประชาชน เนื่องจากไม่ทราบจํานวนประชากรของ โดยใช้เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบ
ประชาชนที่เข้ารับการอบรมในค่ายสุขภาพที่แน่นอน ด้วย แบบสอบถามที่มีส่วนสุดท้ายให้ผู้ตอบเพิ่มเติม
การวิจัยจึงใช้สูตรการหาขนาดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้ หรือเสนอแนะ ซึ่งนํามาใช้เป็นการพรรณนาในส่วน
สูตร W.G. Cochran ของผลการศึกษาเชิงคุณภาพ การตรวจสอบเครื่อง
[9]
มือที่ใช้ในครั้งนี้ ได้ผ่านขั้นตอนการตรวจสอบด้วย
ค่าความตรงของเนื้อหา (content validity) ที่มาจาก
ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องการดําเนินงานแพทย์ทางเลือก
เมื่อ n คือ จํานวนกลุ่มตัวอย่างที่ต้องการ วิถีธรรมและแพทย์ทางเลือกจํานวนสามท่าน และ
p คือ สัดส่วนของประชากรที่ผู้วิจัย วัดค่าดัชนีความสอดคล้องรายวัตถุประสงค์ (IOC)
ต้องการสุ่ม (โดยทั่วไปนิยมใช้สัดส่วน 30% หรือ 0.30) ได้มากกว่า 0.5 ค่าความเชื่อมั่น reliability (ค่า
Z คือ ระดับความมั่นใจที่กําหนด หรือ สัมประสิทธิ์อัลฟาของ ครอนบาค (Cronbach’s Al-
ระดับนัยสําคัญทางสถิติ pha) โดยมีทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง (try out) และ
ในที่นี้ให้ Z ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 เท่ากับ ค่าความเชื่อมั่น reliability ของแบบสอบถามโดยรวม