Page 148 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 148

286 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก     ปีที่ 17  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2562




             รวมในระดับมาก (x = 4.10, SD = 0.56) ประกอบ  ได้อย่างประหยัด เรียบง่าย สามารถลดค่าใช้จ่ายใน
             ด้วยประเด็นสําคัญ ดังนี้คือ                 ชีวิตประจําวันได้ ประเด็นที่ 5) การนําความรู้ด้านการ
                   (1) การดําเนินงานค่ายสุขภาพวิถีธรรมมี  แพทย์ทางเลือกวิถีธรรมมาใช้สามารถลดค่าใช้จ่ายใน

             ความเหมะสมกับปัญหาของประชาชนในปัจจุบัน (การ  การรักษาพยาบาลได้ ประเด็นที่ 6) การนําความรู้ด้าน
             เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง)   การแพทย์ทางเลือกวิถีธรรมมาใช้สามรถลดความถี่

                   (2) เป้าหมายกิจกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมเป็น  ในการไปรับบริการที่หน่วยบริการสาธารณสุข (โรง
             ไปตามวัตถุประสงค์                           พยาบาล, รพ.สต.) ได้
                   (3) มีบรรยากาศกิจกรรมค่ายสุขภาพฯ          ความยั่งยืนในการดําเนินการงานที่ต่อเนื่อง

             เหมาะสม ค่าคะแนนความคิดเห็นเฉลี่ยอยู่ระหว่าง   ของการดําเนินงานค่ายสุขภาพวิถีธรรมพิจารณาจาก
             4.01- 4.26 คะแนน (จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน)     ประเด็นสําคัญ ดังนี้ ประชาชนได้รับความรู้อย่างต่อ

                 3. การวัดความยั่งยืนวัดโดยใช้แบบสอบถาม  เนื่อง นําความรู้ไปใช้ในชีวิตประจําวันอย่างต่อเนื่อง
             เกี่ยวกับการนําไปใช้/การปฏิบัติและความคิดเห็นว่าผู้  ภายในชุมชนมีกิจกรรมเพื่อทบทวนความรู้อย่างต่อ
             เข้าค่ายเคยใช้/เคยนําไปปฏิบัติหรือไม่หลังจากที่ออก  เนื่อง และที่ผ่านมาประชาชนมีความเห็นว่าได้รับ

             จากค่ายสุขภาพและถ้าได้นําไปปฏิบัติจะมีโอกาสเกิด  ความรู้ด้านการแพทย์ทางเลือกวิถีธรรมเพียงพอแล้ว
             ความยั่งยืนได้พบว่าประชาชนผู้เคยเข้าค่ายสุขภาพ  ค่าคะแนนความคิดเห็นเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 2.89-3.21
             มีความคิดเห็นว่า ภายหลังได้รับการอบรมจากค่าย  คะแนน (เต็ม 5 คะแนน)

             สุขภาพแพทย์ทางเลือกวิถีธรรม ประชาชนผู้เข้าค่าย     จากการเปรียบเทียบความแตกต่างทางสถิติ
             สุขภาพทั้งที่เคยใช้/เคยปฏิบัติ หรือไม่เคยใช้/ไม่เคย  (t-test) ในมิติด้านความยั่งยืน (ตารางที่ 2) จากการ
             ปฏิบัติ ให้ค่าคะแนนความยั่งยืน ในภาพรวมจากทุก  ประเมินการดําเนินงานค่ายสุขภาพวิถีธรรม เพื่อ

             เทคนิคการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง (x = 3.06   แก้ไขปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังจังหวัดราชบุรี พบ
             จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน, SD = 0.71) แม้ว่าผล   ว่าประสบการณ์ที่แตกต่างกันของประชาชนผู้ตอบ

             การประเมินในภาพรวมของความยั่งยืน จะมีคะแนน  แบบสอบถาม (เคยใช้/ไม่เคยใช้เทคนิคการดูแล
             ในระดับปานกลาง กลับพบว่าในประเด็นย่อยสําคัญ  สุขภาพ) มีคะแนนความคิดเห็นด้านความยั่งยืนแตก
             จํานวน 6 ประเด็น มีคะแนนการประเมินอยู่ในระดับ  ต่างกัน โดยผู้ที่เคยใช้/เคยปฏิบัติ เทคนิคการดูแล

             มาก ซึ่งประกอบด้วยประเด็นสําคัญ ดังนี้ ประเด็นที่   สุขภาพ 5 เทคนิค (กัวซา, ดีทอกซ์, แช่มือ-แช่เท้า
             1) หลังการอบรมเรียนรู้ผ่านค่ายสุขภาพฯ สามารถ  โยคะ และอาหารปรับสมดุล) จากทั้งหมด 9 เทคนิค

             ดูแลสุขภาพตนเองได้มากขึ้น ประเด็นที่ 2) หลังการ  มีคะแนนความเห็นในด้านความยั่งยืนที่สูงกว่าผู้ที่
             อบรมเรียนรู้ผ่านค่ายสุขภาพฯ และได้นํามาใช้ในชีวิต  ไม่เคยใช้/ไม่เคยปฏิบัติ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ
             ประจําวันทําให้สุขภาพดีขึ้น ประเด็นที่ 3) สามารถหา  (p–value < 0.05) ดังรายละเอียดต่อไปนี้

             วัตถุดิบหรือสมุนไพรที่จะนํามาใช้ดูแลสุขภาพได้ไม่       (1) ประชาชนที่เคยใช้เทคนิคที่ 2 กัวซา มี
             ยาก ประเด็นที่ 4) แนวทางการดําเนินชีวิตตามหลัก  คะแนนความคิดเห็นในด้านความยั่งยืนที่สูงกว่าผู้ที่
             การแพทย์ทางเลือกวิถีธรรมช่วยให้สามารถใช้ชีวิต  ไม่เคยใช้เทคนิคกัวซา อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ
   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153