Page 147 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 147
J Thai Trad Alt Med Vol. 17 No. 2 May-Aug 2019 285
(ค่าสัมประสิทธ์แอลฟาของ ครอนบาค (Cronbach’s ตารางที่ 1 ลักษณะประชากรของผู้ที่ได้รับการอบรมใน
Alpha) = 0.95 การศึกษาในครั้งนี้ผู้วิจัยได้เสนอขอ การดำาเนินงานค่ายสุขภาพวิถีธรรม
รับการพิจารณาด้านจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และ ประชาชนที่เข้าค่าย
คุณลักษณะส่วนบุคคล
ได้รับการพิจารณาจากคณะกรรมการจริยธรรมการ จำานวน (คน) ร้อยละ
วิจัยในมนุษย์คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัย เพศ
มหิดล ชาย 38 11.51
หญิง 292 88.49
ผลก�รศึกษ� อายุ
≤ 40 46 13.94
1. ข้อมูลทั่วไป 41-50 90 27.27
ในกลุ่มประชาชนที่เข้าค่ายสุขภาพหรือผู้ได้ 51-60 103 31.21
≥ 60 91 27.58
รับการอบรมเป็นเพศหญิงเป็นส่วนใหญ่ ร้อยละ 89
x = 52.76
และเป็นผู้ที่มีอายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไปมีมากกว่าร้อย SD = 11.50
ละ 80 อายุเฉลี่ยที่ 53 ปี การศึกษาของผู้เข้าอบรมใน การศึกษา
ค่ายสุขภาพ มากกว่าครึ่งมีการศึกษาระดับต้น คือชั้น ประถมศึกษา 171 51.82
มัธยมศึกษา 90 27.27
ประถมร้อยละ 52 ผู้ที่เข้าค่ายส่วนใหญ่เป็นผู้นับถือ
อนุปริญญา 24 7.27
ศาสนาพุทธ ร้อยละ 99 และร้อยละ 65 ของผู้เข้าร่วม ปริญญาตรี 43 13.03
อบรมในค่ายสุขภาพเป็นผู้ที่ทํางานรับจ้างหรืออยู่ที่ สูงกว่า ป.ตรี 2 0.61
บ้าน (ตารางที่ 1) ศาสนา
จากการศึกษาภาพรวมของประชาชน พบว่า พุทธ 328 99.39
คริสต์ 2 0.61
คะแนนการประเมินผลการดําเนินงานค่ายสุขภาพวิถี
อาชีพ
ธรรมเพื่อการพึ่งตนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงในการ นักเรียน/นักศึกษา 2 0.61
แก้ปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง มีค่าเฉลี่ยในภาพรวมอยู่ แม่บ้าน พ่อบ้าน 100 30.32
ในระดับมาก (x= 3.52, SD = 0.39) รับจ้าง 114 34.61
ค้าขาย 40 12.12
เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างทางสถิติ ของ
เกษตรกร 43 13.03
การประเมินการดําเนินงานค่ายสุขภาพวิถีธรรม พบ ว่างงาน 9 2.73
ว่าประสบการณ์ที่แตกต่างกันของผู้ตอบแบบสอบถาม รับราชการ 6 1.73
ประชาชน ผู้ที่เคยใช้/เคยปฏิบัติ หรือไม่เคยใช้/ไม่เคย อื่น ๆ 16 4.85
ปฏิบัติ เทคนิคการดูแลสุขภาพ มีคะแนนความคิดเห็น สถานภาพบุคคล
โสด 51 13.39
ต่อผลลัพธ์การดูแลสุขภาพในภาพรวมแตกต่างกัน
คู่ 209 54.86
2. ทัศนะของประชาชนมีความคิดเห็นต่อ หม้าย 55 14.43
กิจกรรมการดําเนินงานค่ายสุขภาพวิถีธรรมที่มีการจัด หย่า แยกกันอยู่ 15 3.95
กิจกรรมผ่านค่ายสุขภาพฯ มีความเหมาะสมในภาพ โสด 51 13.37