Page 149 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 149
J Thai Trad Alt Med Vol. 17 No. 2 May-Aug 2019 287
(2) ประชาชนที่เคยใช้เทคนิคที่ 3 ดีทอกซ์ มี ยั่งยืนที่สูงกว่าผู้ที่ไม่เคยใช้เทคนิคโยคะ อย่างมีนัย
คะแนนความคิดเห็นในด้านความยั่งยืนที่สูงกว่าผู้ที่ไม่ สําคัญทางสถิติ
เคยใช้เทคนิคดีทอกซ์ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (5) ประชาชนที่เคยใช้เทคนิคที่ 7 การรับ
(3) ประชาชนที่เคยใช้เทคนิคที่ 4 แช่มือ-แช่ ประทานอาหารปรับสมดุล มีคะแนนความคิดเห็นใน
เท้า มีคะแนนความคิดเห็นในด้านความยั่งยืนที่สูงกว่า ด้านความยั่งยืนที่สูงกว่าผู้ที่ไม่เคยใช้เทคนิคการรับ
ผู้ที่ไม่เคยใช้เทคนิคแช่มือ-แช่เท้า อย่างมีนัยสําคัญ ประทานอาหารปรับสมดุล อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ
ทางสถิติ ส่วนเทคนิคที่ 1, 5, 8 และ 9 ประสบการณ์ที่แตก
(4) ประชาชนที่เคยใช้เทคนิคที่ 6 การออก ต่างกันมีคะแนนความยั่งยืนไม่แตกต่างกัน (ตารางที่
กําลังกาย โยคะ มีคะแนนความคิดเห็นในด้านความ 2)
ตารางที่ 2 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของความยั่งยืนระหว่างประสบการณ์ผู้ที่เคยใช้และไม่เคยใช้ เทคนิคการ
ดำาเนินงานค่ายสุขภาพวิถีธรรม
ค่าเฉลี่ย
ความยั่งยืนจากเทคนิคการดูแลสุขภาพ ประสบการณ์ N S.D. t-test p-value
Mean
เทคนิคที่ 1. รัปประทาน ดื่มนำ้าสมุนไพร เคยใช้ 281 3.07 0.70 0.64 0.52
ไม่เคยใช้ 49 3.00 0.73
เทคนิคที่ 2. กัวซา เคยใช้ 186 3.14 0.64 2.29* 0.02
ไม่เคยใช้ 144 2.96 0.78
เทคนิคที่ 3. ดีท๊อกซ์ เคยใช้ 83 3.25 0.61 2.82* 0.01
ไม่เคยใช้ 247 3.00 0.73
เทคนิคที่ 4. แช่มือ-แช่เท้า เคยใช้ 158 3.22 0.66 3.95* 0.01
ไม่เคยใช้ 172 2.92 0.72
เทคนิคที่ 5. พอก ทา หยอด ประคบฯ เคยใช้ 116 3.16 0.69 1.85 0.07
ไม่เคยใช้ 214 3.01 0.71
เทคนิคที่ 6. โยคะ เคยใช้ 143 3.21 0.71 3.34* 0.01
ไม่เคยใช้ 187 2.95 0.69
เทคนิคที่ 7. อาหารปรับสมดุล เคยใช้ 140 3.18 0.70 2.69* 0.01
ไม่เคยใช้ 190 2.97 0.70
เทคนิคที่ 8. ธรรมะ เคยใช้ 94 3.10 0.66 0.71 0.48
ไม่เคยใช้ 236 3.04 0.73
เทคนิคที่ 9. รู้เพียร รู้พัก เคยใช้ 96 3.14 0.67 1.33 0.18
ไม่เคยใช้ 234 3.03 0.72
* มีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ p-value < 0.05