Page 144 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 144

282 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก     ปีที่ 17  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2562




             ในการดูแลรักษาสุขภาพ  การแพทย์แผนไทยและ     ครัวเรือน ของสํานักงานสถิติแห่งชาติ 2556 พบว่า
                                [2]
             แพทย์ทางเลือกได้ถูกนําเสนอให้เป็นที่ยอมรับอย่าง  ประชาชนร้อยละ 21.9 รู้จักและเคยใช้หรือได้รับ
             กว้างขวางจนเป็นนโยบายทางด้านการรักษาเบื้องต้น  สมุนไพรหรือยาแผนไทย การใช้ยาสมุนไพรในการ

             เพื่อการส่งเสริมและป้องกันโรคโดยกรมการแพทย์  รักษาโรค พบว่าประชาชนร้อยละ 41.6 ไม่รู้จักและ
             แผนไทยและแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุขได้  ไม่เคยใช้ ในส่วนประชาชนที่รู้จักและเคยใช้สมุนไพร

             จัดให้มีบริการทางการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทาง  หรือยาแผนไทย จะตัดสินใจใช้ก็ต่อเมื่อมีอาการเจ็บ
             เลือกในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล เนื่องจาก  ป่วยเล็กน้อยเท่านั้น คิดเป็นร้อยละ 82
                                                                                      [4]
             ประชาชนมีความเจ็บป่วยที่ปรากฏขึ้นอย่างชัดเจน     นายใจเพชร กล้าจน เป็นหนึ่งในบุคคลที่มีการนํา

             ทั้งจากรายงานโรคไม่ติดต่อ และสถานการณ์โรคไม่  แนวคิดของแพทย์ทางเลือกและแนวทางแพทย์วิถี
             ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสุขภาพระดับประเทศและ  ธรรมซึ่งเป็นองค์ความรู้ที่ต่างจากด้านแพทย์แผน

             ระดับนานาชาติ ซึ่งนับวันจะทวีความรุนแรงขึ้น จาก  ปัจจุบันเผยแพร่ให้แก่ประชาชนในพื้นที่ภาคตะวัน
             รายงานสถิติสุขภาพทั่วโลกปี พ.ศ. 2555 ขององค์การ  ออกเฉียงเหนือและได้แพร่ขยายองค์ความรู้ถ่ายทอด
             อนามัยโลกพบว่า 1 ใน 10 ของประชาชนในวัยผู้ใหญ่  ไปสู่ภาคอื่น ๆ ผู้วิจัยเห็นความสําคัญของการรักษา

             ป่วยเป็นโรคเบาหวาน และ 1 ใน 3 มีภาวะความดัน  ตนเองเพื่อการพึ่งตนตามแนวทางเศรษฐกิจพอ
             โลหิตสูงในปีเดียวกันประเทศไทยพบผู้ป่วยโรคไม่  เพียงและแนวทางแพทย์ทางเลือกวิถีธรรมของนาย
             ติดต่อเรื้อรัง 5 โรครายใหม่ มีจํานวนรวม 1,009,002   ใจเพชร กล้าจนหรือหมอเขียว ผู้ก่อตั้งมูลนิธิแพทย์

             ราย โรคความดันโลหิตสูงมีอัตราป่วยสูงสุด 937 ต่อ  วิถีธรรมแห่งประเทศไทย” (Buddhist Medicine
             ประชากรแสนคน รองลงมาคือ โรค เบาหวาน อัตรา   Foundation) และดํารงตําแหน่งประธานมูลนิธิฯและ
             ป่วย 523 ต่อประชากรแสนคน  โดยเฉพาะปัจจุบัน  ทีมจิตอาสาแพทย์วิถีธรรม ที่สามารถเป็นตัวอย่าง
                                     [3]
             สภาวะแวดล้อมเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมมี      และถ่ายทอดความรู้ให้กับประชาชนและเจ้าหน้าที่
             ความแตกต่างกันออกไป ประชาชนมีความตื่นตัวและ  สาธารณสุขในชุมชน ซึ่งเป็นฐานคิดที่สําคัญของแพทย์

             มีการใส่ใจในสุขภาพของตนเองมากขึ้น มีการแลก  ทางเลือกวิถีธรรมที่เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2538 จนกระทั่ง
             เปลี่ยนความคิด มีการนําเอาวัฒนธรรม การยอมรับ  ปัจจุบันเป็นเวลากว่า 20 ปี ณ สวนป่านาบุญ อําเภอ
             ความเชื่อถือจากภายนอกเข้ามาผสมผสานถ่ายทอด   ดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร ซึ่งหลักการแพทย์ทาง

             กันจนเกิดเป็นองค์ความรู้และแบบแผนในการดูแล  เลือกนี้เป็นการพัฒนาตามหลักพุทธศาสนา เป็นการ
             สุขภาพตามภูมิปัญญาของคนในแต่ละสังคมต่อ ๆ มา   ใช้ความรู้ทางการแพทย์แผนปัจจุบันและการแพทย์

                 วิธีการรักษาดูแลสุขภาพของคนไทยมีหลาก    แผนไทยร่วมกับแนวคิดการสร้างสุขภาพตามแนว
             หลายอย่างได้แก่ การใช้ยาสมุนไพรในการประคบ   เศรษฐกิจพอเพียง
                                                                      [5-6]
             การนวดซึ่งมีเอกลักษณ์แบบแผนต่าง ๆ กันแล้วแต่     การขับเคลื่อนงานแพทย์วิถีธรรมมีการดําเนิน

             ผู้นําในชุมชนหรือผู้ที่สามารถเป็นแบบอย่างในการ  การจัดการเป็นไปตามการบริหารจัดการของผู้จัดค่าย
             รักษาสุขภาพให้แก่คนในชุมชนนั้น ๆ จากการสํารวจ  ซึ่งเป็นอาสาสมัครในท้องถิ่นและ/หรือนักสาธารณสุข
             พฤติกรรมการดูแลตนเองด้วยการใช้สมุนไพรใน     ในท้องถิ่นในแต่ละที่ เช่น ในพื้นที่ของ รพสต. สถาน
   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149