Page 142 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 142

วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก  Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine
                       ปีที่ 17  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2562
                                                                       Vol. 17  No. 2  May-August 2019
              280 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก     ปีที่ 17  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2562


                                                                                 นิพนธ์ต้นฉบับ



             การประเมินค่ายสุขภาพตามแนวการแพทย์ทางเลือกวิถีธรรม



                          * ‡
             วัลลีรัตน์ พบคีรี ’ , พิมพ์ณภัส ทับทิม †
             * คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล แขวงพญาไท เขตราชเทวี จังหวัดกรุงเทพฯ 10400

             † โรงพยาบาลโพธาราม อำาเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี70120
             ‡ ผู้รับผิดชอบบทความ: Vallerut.pob@mahidol.ac.th








                                                  บทคัดย่อ

                       จากสภาวะสุขภาพและปญหาสาธารณสุขที่มีความซับซอนมากขึ้นในปจจุบัน การแกปญหาดาน
                สาธารณสุขจึงมุงเนนการป้องกัน สงเสริม และดูแลรักษาสุขภาพ การแพทย์ทางเลือกวิถีธรรมจึงดำาเนินงานคายสุขภาพ
                ในการสงเสริมและรักษาสุขภาพแกประชาชนในชุมชนขึ้น มีระยะเวลาตั้งแต 1 – 7 วัน โดยการถายทอดความรูในการ
                ปฏิบัติตนโดยการปรับสมดุลรอนเย็นดวยเทคนิค 9 ขอ (ยา 9 เม็ด) คือ (1) การรับประทานสมุนไพรหรือดื่มนำาสมุนไพร (2)
                                                                       
                การทำากัวซาหรือขูดระบายพิษทางผิวหนัง (3) การสวนลางพิษออกจากลำาไสใหญดวยนำาสมุนไพร (ดีท็อกซ์) (4) การแชมือ
                                       
                แชเทาหรือสวนที่รูสึกไมสบายในนำาสมุนไพรอุนจัด (5) การพอก ทา หยอด ประคบ อบ อาบ เช็ด ดวยสมุนไพร (6) การ
                ออกกำาลังกาย โยคะ กายบริหาร ที่ถูกตอง (7) การรับประทานอาหารปรับสมดุล (8) ใชธรรมะ ละบาป บำาเพ็ญกุศล ทำา
                จิตใจใหผองใส (9) รูเพียร รูพักใหพอดี การศึกษาที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลเทคนิค 9 ขอในการดำาเนินงานคาย
                สุขภาพ เป็นการศึกษาเชิงปริมาณแบบภาคตัดขวาง ใชแบบสอบถามและนำาสถิติ t-test ใชในการวิเคราะห์ ผลการวิจัย
                พบวา ผูที่เขาคายสุขภาพทั้งที่เคยใช/เคยปฏิบัติตามเทคนิค 9 ขอหรือไมเคยใช/ไมเคยปฏิบัติตามเทคนิคเหลานั้น ผูที่
                เคยใช/เคยปฏิบัติตามเทคนิค 5 ขอไดใหคะแนนความยั่งยืนสูงกวาผูที่ไมเคยเขาคายสุขภาพมากอนหนานี้อยางมีนัย
                สำาคัญทางสถิติ (p - value < 0.05) โดยทั้ง 5 เทคนิคนี้คือ เทคนิคที่ 2 – การขูดพิษ ขูดลม หรือกัวซา, เทคนิคที่ 3 – การ
                                                        
                สวนลางหรือทำาดีท็อกซ์, เทคนิคที่ 4 – การแชมือแชเทาในนำาสมุนไพร, เทคนิคที่ 6 – การฝึกโยคะ การออกกำาลังกาย
                และเทคนิคที่ 7 – การปรับสมดุลอาหาร จากผลการประเมินนี้อาจเป็นไปไดวา เทคนิคทั้ง 5 เหลานั้น สามารถทำาให
                ประชาชนผูเขาคายสุขภาพมีความเขาใจลึกซึ้งถึงความสำาคัญและขั้นตอนในการรักษาสุขภาพแบบแพทย์ทางเลือก
                วิถีธรรม ไดรับความรู และรูสึกสบายขึ้นจากการฝึกปฏิบัติดวยตนเองอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ผูที่เคยเขาคายสุขภาพ
                ไดตระหนักถึงสมรรถนะแหงตนในการดูแลรักษาสุขภาพจึงสามารถดูแลสุขภาพของตนเองไดมากยิ่งขึ้น
                    คำ�สำ�คัญ :  การประเมินผล, วิถีธรรม, การแพทย์ทางเลือก











             Received date 26/03/18; Revised date 29/03/19; Accepted date 10/06/19

                                                     280
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147