Page 71 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 71
J Thai Trad Alt Med Vol. 17 No. 1 Jan-Apr 2019 61
การใช้ยาปฏิชีวนะชนิดอื่นที่มีจุดเด่นในการต้านเชื้อ ต่าง ๆ ของสารสกัดมะหาดที่ได้จากการทดลองนี้ พบ
แบคทีเรียแกรมลบ เช่น gentamicin เป็นตัวเปรียบ ว่าสารสกัดแก่นมะหาดที่สกัดด้วยเอทานอล 95% มี
เทียบ อาจจะส่งผลให้ผลการทดลองที่ได้อาจจะมี ประสิทธิผลสูงสุดในการยับยั้งเชื้อ A. hydrophila
ความแตกต่างกัน TISTR 1321 และ E. coli TISTR 117 ดังค่า MBC
เมื่อพิจารณาถึงฤทธิ์ในการยับยั้งการเจริญของ (ตารางที่ 3) ในขณะที่ผลของการศึกษาของ Kumar
[8]
เชื้อแบคทีเรียของสารสกัดมะหาดที่สกัดด้วยเอทา และคณะ ระบุว่าสารสกัดผลมะหาดด้วยเมทานอล
นอล 95% เมื่อทดสอบด้วยวิธี agar-disc diffusion จะมีประสิทธิผลในการยับยั้งเชื้อ P. aeruginosa
และ broth dilution assay พบว่ามีความแตกต่างกัน สูงสุด อย่างไรก็ตามพบว่าความแตกต่างที่เกิดขึ้นอาจ
ระหว่างผลการทดลองที่ได้จากทั้ง 2 วิธี คือ เมื่อ จะมาจากหลายปัจจัย ได้แก่ ส่วนของมะหาดที่นำามา
ทดสอบการยับยั้งการเจริญของเชื้อ E. faecalis ศึกษาในแต่ละการทดลองอาจจะมีความแตกต่างกัน
TISTR 927, S. Typhimurium TISTR 1469, P. โดยพบว่าพืชในแต่ละส่วนจะมีการสะสมชนิดและ
mirabilis TISTR 100 และ P. aeruginosa TISTR ปริมาณของสารสำาคัญที่ไม่เหมือนกัน ส่งผลให้สาร
1287 บนอาหารแข็ง NA ของสารสกัดมะหาดที่สกัด สกัดของพืชในแต่ละส่วนมีฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อที่
ด้วยเอทานอล 95% จะไม่พบโซนการยับยั้งที่เกิดขึ้น แตกต่างกัน และนอกจากนี้ยังพบว่าเชื้อทดสอบแต่ละ
แต่เมื่อทำาการทดลองเพื่อหาค่า MBC ในอาหารเหลว สายพันธุ์อาจจะมีความแตกต่างกันด้วย จึงส่งผลให้
NB โดยวิธี broth dilution assay พบว่าสามารถหา ผลที่ได้แตกต่างกันออกไป [2,3]
ค่า MBC ได้เท่ากับ 6,250, 6,250, 12,500 และ
มากกว่า 25,000 ppm ตามลำาดับ ซึ่งผลการศึกษาที่ ข้อสรุป
แตกต่างกันระหว่าง 2 วิธีนี้ได้มีความคล้ายคลึงกับ งานวิจัยนี้ได้รายงานฤทธิ์ของการยับยั้งการ
[13]
รายงานของ Yousef และ Tawil เมื่อทำาการศึกษา เจริญของเชื้อแบคทีเรียของสารสกัดมะหาดด้วยตัวทำา
ฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อก่อโรคของนำ้ามันหอมระเหยที่ ละลายแต่ละชนิด โดยพบว่าสารสกัดมะหาดที่สกัด
สกัดจากพืชชนิดต่าง ๆ อย่างไรก็ตามพบว่าการศึกษา ด้วยเอทานอล 95% จะแสดงประสิทธิผลในการยับยั้ง
ฤทธิ์หรือสมบัติในการยับยั้งเชื้อทดสอบของสารสกัด การเจริญของเชื้อแบคทีเรียทดสอบสูงที่สุด ในขณะที่
ต่าง ๆ นิยมที่จะใช้วิธี broth dilution assay มากกว่า การสกัดมะหาดด้วยตัวทำาละลายชนิดอื่น ๆ คือ นำ้า
เนื่องจากวิธีนี้เป็นวิธีที่ค่อนข้างแม่นยำา ส่วนวิธีการ กลั่นและเฮกเซนจะไม่แสดงคุณสมบัติดังกล่าว และ
ทดสอบโดย agar-disc diffusion มักนิยมใช้ในการ ยังพบว่าประสิทธิผลในการยับยั้งการเจริญของเชื้อ
คัดเลือกสารสกัดที่น่าจะมีฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อ แบคทีเรียแต่ละชนิดจะแตกต่างกันออกไปตามแต่ละ
แบคทีเรียเบื้องต้น ทั้งนี้เนื่องจากวิธี agar-disc dif- ชนิดของเชื้อทดสอบ ข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เห็นถึง
fusion จะมีจุดเด่นเรื่องของการใช้สารสกัดปริมาณ ตัวทำาละลายที่เหมาะสมในการสกัดสารสำาคัญที่มีฤทธิ์
น้อยในการทดสอบ [14] ยับยั้งเชื้อแบคทีเรียออกมาจากมะหาดและยังสะท้อน
อีกประเด็นที่น่าสนใจเมื่อพิจารณาถึงเรื่องของ ให้เห็นว่ามะหาดเป็นพืชที่มีศักยภาพในการใช้ศึกษา
ประสิทธิผลในการยับยั้งการเจริญของเชื้อก่อโรคชนิด พัฒนาเพื่อใช้ทดแทนยาปฏิชีวนะในการควบคุมเชื้อ