Page 66 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 66

56 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2562




           โรคเมื่อเปรียบเทียบกับการใช้ยาปฏิชีวนะ คือ มีความ  มนุษย์ที่ยังไม่ได้รับการศึกษา ทั้งในกลุ่มแบคทีเรียที่
           ปลอดภัยสูงนำามาซึ่งการลดปัญหาเรื่องสารตกค้าง   ก่อให้เกิดการอักเสบติดเชื้อ แบคทีเรียที่เป็นสาเหตุ

                              [2]
           ต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์  แต่อย่างไรก็ตามพบว่าพืช  ของอาหารเป็นพิษ และแบคทีเรียที่เป็นกลุ่มเชื้อฉวย
           แต่ละชนิดจะมีประสิทธิผลในการยับยั้งการเจริญของ  โอกาส อีกทั้งยังไม่มีรายงานเกี่ยวกับวิธีการสกัด หรือ
           เชื้อแบคทีเรียที่แตกต่างกัน [3]             ตัวทำาละลายที่เหมาะสมในการใช้สกัดสารที่มีฤทธิ์ใน

                มะหาด (Artocarpus lakoocha Roxb.) เป็น  การยับยั้งเชื้อแบคทีเรียก่อโรคในมะหาดออกมา ซึ่ง
           พืชที่สามารถพบได้ทั่วไปหลายประเทศในทวีปเอเชีย   ข้อมูลดังกล่าวถือเป็นข้อมูลสำาคัญเพื่อพัฒนาการใช้
           เช่น อินเดีย บังกลาเทศ ภูฏาน เนปาล พม่า ศรีลังกา   ประโยชน์ของมะหาดในการควบคุมเชื้อแบคทีเรียก่อ

           มาเลเซีย สิงคโปร์ เวียดนาม กัมพูชา ลาว และไทย   โรคต่อไป การวิจัยครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา
           โดยจากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่ามะหาดมีสรรพคุณ  ถึงประสิทธิผลในการยับยั้งการเจริญของเชื้อ
           หลายด้านทั้งด้านความสวยความงามและเป็นยารักษา  แบคทีเรียก่อโรคในมนุษย์ของสารสกัดมะหาดที่สกัด

           โรค โดยผลของมะหาดจะมีวิตามินหลายชนิด เป็น   จากตัวทำาละลายแต่ละชนิด
           แหล่งของสารต้านอนุมูลอิสระ และยังประกอบไปด้วย

                                              [4]
           ธาตุเหล็ก ทองแดง แมกนีเซียม และสังกะสี เมื่อ            ระเบียบวิธีศึกษ�
           ทำาการวิเคราะห์สารสกัดบริสุทธิ์ของมะหาดพบว่ามี
           สารออกฤทธิ์ที่สำาคัญ 2 ชนิด คือ resveratrol ซึ่งมี  แบคทีเรียที่ใช้ทดสอบ

                                     [5]
           คุณสมบัติต้านแบคทีเรียและเชื้อรา และ oxyresve-     เชื้อแบคทีเรียที่ใช้ทดสอบในการศึกษานี้มี 10
           ratrol ที่มีฤทธิ์ยับยั้งการทำางานของเอนไซม์ tyrosi-  ชนิด ประกอบด้วย Escherichia coli TISTR 117,

           nase ที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์เม็ดสีเมลานินที่เป็น  Salmonella typhimurium TISTR 1469, Psue-
                              [6]
           สาเหตุของสีผิวหมองคลำ้า จากการศึกษาของ Tean-  domonas aeruginosa TISTR 1287, Staphylococ-
           paisan และคณะ  พบว่าสารสกัดมะหาดสามารถ      cus aureus TISTR 746, Bacillus licheniformis
                         [7]
           ยับยั้งแบคทีเรียที่ก่อโรคในช่องปาก คือ Streptococ-  TISTR 1455, Proteus mirabilis TISTR 100,
           cus mutans, Porphyromonas gingivalis, Fuso-  Bacillus cereus TISTR 747 และ Enterococ-
           bacterium nucleatum และ Tannerella for-     cus faecalis TISTR 927 โดยนำามาเพาะเลี้ยงใน

           sythia ได้ดี ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ Kumar   อาหาร nutrient agar (NA) และ NA + 1% NaCl
                   [8]
           และคณะ  ที่พบฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย   สำาหรับเชื้อ Aeromonas hydrophila TISTR 1321
           Staphylococcus aureus, Klebsiella pneumoni-  และ Vibrio parahaemoliticus TISTR 1596 บ่ม

           ae และ Pseudomonas aeruginosa ของสารสกัด    ที่อุณหภูมิ 37˚C เป็นเวลา 24 ชั่วโมง ก่อนนำาไปใช้
           จากเปลือกผลมะหาด ถึงแม้ว่าจะมีการศึกษาฤทธิ์ใน  เพื่อทดสอบฤทธิ์ในการยับยั้งแบคทีเรียของสารสกัด

           การยับยั้งเชื้อแบคทีเรียของสารสกัดมะหาดมาบ้าง  มะหาดต่อไป ซึ่งจุลินทรีย์ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้
           ก่อนหน้านี้ แต่อย่างไรก็ตามพบว่ายังมีแบคทีเรียอีก  รับความอนุเคราะห์มาจากศูนย์จุลินทรีย์ สถาบันวิจัย
           หลายชนิดที่ยังคงพบเป็นปัญหาในการก่อโรคแก่   วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71