Page 70 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 70

60 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2562




           TISTR 1455, P. aeruginosa TISTR 1287 และ V.   การเจริญของเชื้อแบคทีเรียในมะหาดนั้นจะเป็นสารที่
           parahaemoliticus TISTR 1596 (ตารางที่ 3)    มีคุณสมบัติกึ่งมีขั้ว และอาจเป็นกลุ่มของสารหลาย

                                                       ชนิดที่ทำางานร่วมกัน เนื่องจากขั้นตอนในการเตรียม
                         อภิปร�ยผล                     สารสกัดแก่นมะหาดที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ไม่มีการ

                จากการทดสอบฤทธิ์ในการยับยั้งการเจริญของ  ทำาบริสุทธิ์สารที่สกัดออกมา ดังนั้นจึงไม่สามารถระบุ

           เชื้อทดสอบทั้ง 10 ชนิด ของสารสกัดมะหาดที่สกัด  สารบริสุทธิ์ที่ออกฤทธิ์ในการยับยั้งการเจริญของเชื้อ
           ด้วยตัวทำาละลายต่าง ๆ พบว่าสารสกัดมะหาดที่สกัด  แบคทีเรียในมะหาดได้ ดังนั้นงานวิจัยนี้เป็นการ
           ด้วยตัวทำาละลายที่แตกต่างกันจะแสดงฤทธิ์ในการ  รายงานเบื้องต้นของสารสกัดหยาบจากมะหาดต่อ

           ยับยั้งเชื้อทดสอบที่แตกต่างกันแม้ว่าจะใช้เชื้อทดสอบ  แบคทีเรียชนิดต่าง ๆ ซึ่งผลการศึกษาครั้งนี้สอดคล้อง
                                                                                             [11]
           ชนิดเดียวกันก็ตามในการทดสอบ ทั้งนี้ก็เนื่องมาจาก  กับผลการศึกษาของ Pandey และ Bhatnagar
           อิทธิพลของตัวทำาละลายที่ใช้สกัด ซึ่งจะละลายสาร  ที่ทำาการสกัดเปลือกต้นมะหาดด้วยตัวทำาละลาย คือ

           สำาคัญต่าง ๆ ในมะหาดที่แตกต่างกันออกมา จึงมีผล  ปิโตรเลียมอีเทอร์, คลอโรฟอร์ม และเมทานอล และ
           ต่อคุณสมบัติทางชีวภาพของสารสกัดที่ได้ กล่าวคือ   ทำาการศึกษาฤทธิ์ในการยับยั้งการเจริญของเชื้อ

           การที่สารสำาคัญในมะหาดจะสามารถละลายในตัวทำา  แบคทีเรียต่าง ๆ พบว่ามีเพียงสารสกัดมะหาดที่สกัด
           ละลายใด ๆ ได้นั้น สารสำาคัญในมะหาดและตัวทำา  ด้วยเมทานอลเท่านั้นที่แสดงฤทธิ์ในการต้านการเจริญ
           ละลายจะต้องมีคุณสมบัติที่เหมือนกันหรือคล้ายคลึง  ของเชื้อแบคทีเรียทดสอบได้ ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าตัว

           กัน ตามกฎ like dissolves like ดังนั้นเมื่อใช้ตัวทำา  ทำาละลายที่ใช้สกัดสารสำาคัญในพืชจะมีผลอย่างมาก
                                   [10]
           ละลาย คือ นำ้ากลั่น เอทานอล 95% และเฮกเซน ซึ่งมี  ต่อชนิดและปริมาณสารสำาคัญที่ออกมา โดยเฉพาะ

           สภาพขั้วที่แตกต่างกัน โดยเรียงลำาดับจากมากไปหา  สารสำาคัญที่มีฤทธิ์ในการยับยั้งการเจริญของเชื้อ
           น้อย คือ นำ้ากลั่น เอทานอล 95% และเฮกเซน ตาม  แบคทีเรีย [12]
           ลำาดับในการสกัดนั้น ก็จะเป็นปัจจัยที่ทำาให้ได้กลุ่ม     เมื่อพิจารณาผลการยับยั้งการเจริญของเชื้อ

           ของสารออกฤทธิ์จากแก่นมะหาดที่แตกต่างกัน ส่งผล  A. hydrophila TISTR 1321 และ V. parahaemo-
           ให้ฤทธิ์ในการยับยั้งการเจริญของเชื้อทดสอบของสาร  liticus TISTR 1596 ของสารสกัดมะหาดที่สกัดด้วย
           สกัดมะหาดที่สกัดด้วยตัวทำาละลายทั้ง 3 ชนิดมี  เอทานอล 95% บนอาหารแข็ง พบว่าสารสกัดดังกล่าว

           คุณสมบัติที่แตกต่างกันอย่างแน่นอน จากผลการ  ให้ผลการยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรียทั้ง 2 ชนิด
           ศึกษาแสดงให้เห็นว่า เอทานอล 95% เป็นตัวทำาละลาย  บนอาหารแข็งดีว่ายาปฏิชีวนะ amoxicillin ซึ่งถูกใช้
           ที่เหมาะสมสำาหรับใช้เพื่อสกัดสารสำาคัญที่มีฤทธิ์ใน  เป็นตัวควบคุมเชิงบวกของการศึกษาครั้งนี้ อย่างไร

           การต้านการเจริญของเชื้อแบคทีเรียออกมาจากแก่น  ก็ตามพบว่ายา amoxicillin เป็นยาปฏิชีวนะที่มีจุด
           มะหาด เนื่องจากมีประสิทธิผลการยับยั้งการเจริญ  เด่นในการต้านเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก แต่เนื่องจาก

           สูงสุด ซึ่งเมื่อพิจารณาถึงคุณสมบัติความมีขั้วของ   แบคทีเรียทั้ง 2 ชนิดนี้เป็นแบคทีเรียแกรมลบ ดังนั้น
           เอทานอลเปรียบเทียบกับนำ้ากลั่นและเฮกเซน สันนิษฐาน  การเลือกใช้ยาปฏิชีวนะเพื่อเป็นตัวเปรียบเทียบจึงเป็น
           ได้ว่ากลุ่มของสารออกฤทธิ์ที่มีคุณสมบัติในการต้าน  หนึ่งในปัจจัยสำาคัญที่ต้องพิจารณา เนื่องจากหากมี
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75