Page 74 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 74

64 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2562




              Preliminary Effects of Prasaplai Capsule for Menstruation Disorder Treatment

              Ratree Sawangjit , Nuttakarn Nuntalard , Prapatsron Pradakorn , Ruchilak Rattarom
                           *,‡
                                                                  *
                                                                                   †
                                               *
              * Clinical Pharmacy Research Unit (CPRU), Department of Clinical Pharmacy, Faculty of Pharmacy,
              Mahasarakham University, Kamrieng, Kantharawichai, Mahasarakham 44150, Thailand
              † Pharmaceutical Sciences Research Unit (PSRU), Department of Pharmaceutical Sciences, Faculty of Pharmacy,
              Mahasarakham University, Kamrieng, Kantharawichai, Mahasarakham 44150, Thailand
              ‡ Corresponding author: ratree.m@msu.ac.th

                                               Abstract

                  Prasaplai is a Thai traditional herbal medicine in the National List of Essential Herbal Medicines used for
              the treatment of abnormal menstruation. However, there is no current clinical evidence to support the efficacy of
              Prasaplai on this indication. The aim of this study was to monitor the effects of Prasaplai on abnormal menstruation
              treatment in women who bought Prasaplai at Mahasarakham University drug store in order to treat their symptoms.
              The data were collected using questionnaires to evaluate clinical signs and symptoms before and after Prasaplai use
              for 1 week, 4 weeks (the 1  menstrual cycles), and 9 weeks (the 2  menstrual cycles) in 24 women aged between
                                st
                                                           nd
              23.9 ± 1.3 years old. All of the subjects took 1-2  Prasaplai capsules (Prasaplai extract 250 mg/capsule) 3 times a day
              before meals. 70 % of the subjects (17 individuals) suffered from oligomenorrhea. After Prasaplai administration,
              abnormal menstruation was cured in 7 persons and increased to 12 persons in the 1  and the 2 menstrual cycles,
                                                                              nd
                                                                       st
              respectively. There was no evidence of adverse drug reactions to Prasaplai. In conclusion, this study indicated that
              Prasaplai may be an effective and safe for treatment of abnormal menstruation. However, randomized controlled
              trials should be further performed to confirm the efficacy and safety of Prasaplai for this indication.
                  Key words:  Prasaplai, drug store, abnormal menstruation, oligomenorrhea, hypomenorrhea







                            บทนำ�                      ของภาวะนี้ในหญิงไทยประมาณร้อยละ 20-30  ซึ่ง
                                                                                           [1]
                ภาวะประจำาเดือนผิดปกติพบได้ในทุกช่วงอายุ  ภาวะนี้ส่งผลให้ผู้ป่วยทำากิจวัตรประจำาวันได้ลดลง มี
           ของหญิงวัยเจริญพันธุ์ สามารถจำาแนกได้เป็น 2 กลุ่ม   คุณภาพชีวิตตำ่ากว่าคนปกติ และเสียค่าใช้จ่ายในการ

           คือ กลุ่มประจำาเดือนมาน้อยกว่าปกติหรือประจำาเดือน  รักษาสูงกว่าคนปกติประมาณ 1.8 เท่า  นอกจากนี้
                                                                                    [2-4]
           ขาด และกลุ่มประจำาเดือนมามากกว่าปกติ โดยปัญหา  เป็นที่ทราบกันดีว่ามูลค่าการรักษาด้วยยาแผนปัจจุบัน
           ที่มักจะพาผู้ป่วยมาที่ร้านยา คือ ภาวะประจำาเดือน  ในสถานบริการสาธารณสุขแต่ละปีมีแนวโน้มสูงขึ้น

           ขาด หรือประจำาเดือนมาน้อยกว่าปกติซึ่งส่วนมากมัก  และมีการสูญเสียเงินจำานวนมากในการนำาเข้ายาแผน
           เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมน ดังนั้นการใช้ยา  ปัจจุบันจากต่างประเทศ เช่น ในปี พ.ศ. 2540 มีการนำา

           คุมกำาเนิดหรือฮอร์โมนทดแทนจึงเป็นยาหลักสำาหรับ  เข้ายาแผนปัจจุบันทุกกลุ่มโรค มูลค่าประมาณ 35,560
           รักษาภาวะประจำาเดือนผิดปกติ                 ล้านบาทต่อปี และในปี พ.ศ. 2551 มีมูลค่านำาเข้าเพิ่ม
                                   [1]
                ข้อมูลทางสถิติของไทยชี้ให้เห็นว่า พบความชุก  ขึ้นเป็นประมาณ 104,159 ล้านบาทต่อปี  ทำาให้รัฐบาล
                                                                                    [5]
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79