Page 76 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 76

66 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2562




           ประจำาเดือนถี่ อย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งนิยามสำาหรับภาวะ  เดือนอยู่ระหว่าง 21-35 วัน โดยประเมินจากการนับ
           ต่าง ๆ มีดังนี้                             จำานวนวันระหว่างการมีประจำาเดือน (นับระยะห่าง)

                  1)  ประจำาเดือนมาน้อย หมายถึง มีจำานวน  รอบที่ 1 กับรอบที่ 2
           วันที่มีประจำาเดือนน้อยกว่า 3 วัน                   (2) การดีขึ้น คือ มีรอบเดือนมาอย่าง
                  2)  ประจำาเดือนขาด หมายถึง ไม่มีประจำา  น้อย 1 รอบเดือนในผู้ที่มีประจำาเดือนขาดเป็นระยะ

           เดือนเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 6 เดือน          เวลานานจนไม่สามารถระบุระยะห่างของรอบเดือนได้
                  3)  ประจำาเดือนเว้นช่วงห่าง หมายถึง มีระยะ  หรือมีระยะห่างของรอบเดือนสั้นลงจาก baseline แต่
           ห่างช่วงรอบเดือนมากกว่า 35 วัน              ไม่อยู่ในช่วง 21-35 วัน

                  4)  ประจำาเดือนถี่ หมายถึง มีระยะห่างช่วง       2)  ประจำาเดือนมาน้อยผิดปกติ
           รอบเดือนน้อยกว่า 21 วัน                             (1) การหาย คือ มีจำานวนวันที่มีประจำา
                3.  อาการผิดปกติก่อนมีประจำาเดือน หมายถึง   เดือนอยู่ในช่วง 3-7 วัน โดยประเมินจากการนับ

           มีอาการผิดปกติหรือการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นซำ้า ๆ  จำานวนที่มีประจำาเดือนในแต่ละรอบเดือน
           ก่อนมีประจำาเดือนและสัมพันธ์กับการมีประจำาเดือน          (2) อาการดีขึ้น คือ มีจำานวนวันที่มีประจำา

           ประกอบไปด้วย เจ็บคัดเต้านม อารมณ์หงุดหงิด ปวด  เดือนมากขึ้นจาก baseline แต่ไม่อยู่ในช่วง 3-7 วัน
           ท้องน้อย มีสิว ปวดเมื่อยหลัง ท้องอืดท้องเฟ้อ และ       3)  ประจำาเดือนมาถี่
           หิวบ่อย                                             (1) การหาย คือ มีระยะห่างหรือช่วง

                4.  อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา หมายถึง   ระหว่างรอบเดือนอยู่ระหว่าง 21-35 วันจากการนับ
           การตอบสนองต่อยาที่เป็นอันตรายและไม่ได้จงใจให้  จำานวนวันระหว่างการมีประจำาเดือน (นับระยะห่าง)

           เกิดขึ้น ซึ่งเป็นอาการที่เกิดในการใช้ยาขนาดปกติ และ  รอบที่ 1 กับรอบที่ 2
           ผ่านการประเมินตาม Naranjo’s Algorithm               (2) อาการดีขึ้น คือ มีระยะห่างของรอบ
                5.  การ “หาย” ในการศึกษานี้ หมายถึง ผู้เข้า  เดือนเพิ่มขึ้นจาก baseline แต่ไม่อยู่ในช่วง 21-35 วัน

           ร่วมวิจัยหายจากทุกอาการของประจำาเดือนผิดปกติ
           เมื่อประเมินตามเกณฑ์การประเมินผลลัพธ์ทางคลินิก  ประช�กร
                6.  การ “ดีขึ้น” ในการศึกษานี้ หมายถึง มีอาการ     หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุระหว่าง 18 ถึง 50 ปี

           ประจำาเดือนผิดปกติดีขึ้นหรือหายอย่างน้อย 1 อาการ   ที่มาขอซื้อหรือได้รับยาแคปซูลประสะไพลที่ร้านยา
           (สำาหรับกลุ่มตัวอย่างที่มารักษาด้วยอาการผิดปกติ  มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เพื่อรักษาภาวะประจำาเดือน
           มากกว่า 1 อาการ) เมื่อประเมินตามเกณฑ์การประเมิน  มาผิดปกติในระหว่างวันที่ 15 มกราคมถึงวันที่ 20

           ผลลัพธ์ทางคลินิก                            สิงหาคม พ.ศ. 2558 กลุ่มตัวอย่างได้มาจากประชากร
                7.  การประเมินผลลัพธ์ทางคลินิก หมายถึง การ  โดยวิธีการคัดเลือกตัวอย่าง (selective sampling)

           ประเมินตามเกณฑ์ดังต่อไปนี้                  ตามเกณฑ์ที่กำาหนด (inclusion criteria)
                  1)  ประจำาเดือนขาดหรือเว้นช่วงห่าง       เกณฑ์การคัดเลือกผู้เข้าร่วมวิจัยเข้าร่วมวิจัย
                    (1) การหาย คือ มีระยะห่างช่วงของรอบ  (inclusion criteria) ได้แก่
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81