Page 68 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 68

58 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2562




           เชื้อแบคทีเรียได้ ซึ่งจะแสดงผลโดยจะไม่ปรากฏการ  การเจริญของเชื้อทดสอบของสารสกัดมะหาดที่สกัด
           เจริญของเชื้อบนอาหารแข็ง NA ทำาการทดสอบเพื่อ  ด้วยนำ้ากลั่นและเฮกเซน แต่เมื่อพิจารณาถึงขนาดโซน

           หาค่า MIC และ MBC เป็นจำานวน 3 ครั้ง        การยับยั้งของเชื้อทดสอบแต่ละชนิดของสารสกัด
                                                       มะหาดที่สกัดด้วยเอทานอล 95% พบว่าฤทธิ์ในการ
                         ผลก�รศึกษ�                    ยับยั้งการเจริญของเชื้อทดสอบจะแตกต่างกันออกไป

                                                       ตามแต่ละชนิดของเชื้อ โดยสารสกัดมะหาดที่สกัด
           1. ผลก�รเตรียมส�รสกัดมะห�ด                  ด้วยเอทานอล 95% จะแสดงฤทธิ์ในการยับยั้งการ

                จากการสกัดผงแก่นมะหาดด้วยตัวทำาละลายทั้ง   เจริญของเชื้อ A. hydrophila TISTR 1321 ได้ดีที่สุด

           3 ชนิด คือ นำ้ากลั่น, เอทานอล 95% และเฮกเซน ใน  โดยมีขนาดโซนการยับยั้งเท่ากับ 19.89 ± 0.67
           อัตราส่วน 1:4 พบว่าสารสกัดมะหาดจะมีลักษณะทาง  มิลลิเมตร ซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกับการยับยั้งของเชื้อ
           กายภาพเป็นของแข็งสีเหลืองถึงนำ้าตาล และมีร้อยละ  V. parahaemolyticus TISTR 1596 ซึ่งมีขนาดโซน

           ของสารสกัดอยู่ในช่วง 0.08-0.83 โดยพบว่าการสกัด  การยับยั้งเท่ากับ 19.00 ± 0.42 มิลลิเมตร นอกจากนี้
           มะหาดด้วยเอทานอล 95% จะทำาให้ได้สารสกัดมะหาด  ยังพบว่าสารสกัดมะหาดยังแสดงฤทธิ์ในการต้านการ

           ปริมาณมากที่สุด รองลงมา คือ การใช้นำ้ากลั่นและเฮก  เจริญของเชื้อ B. cereus TISTR 747, E. coli TISTR
           เซนเป็นตัวทำาละลาย ตามลำาดับ (ตารางที่ 1)   117, B. licheniformis TISTR 1455 และ S. aureus
                                                       TISTR 746 ได้ โดยมีขนาดโซนการยับยั้งเท่ากับ
           2. ผลก�รทดสอบฤทธิ์ยับยั้งก�รเจริญของเชื้อ   18.27 ± 0.69, 17.06 ± 0.66, 14.92 ± 0.98 และ
           แบคทีเรียของส�รสกัดมะห�ดด้วยวิธี agar-      14.84 ± 0.82 มิลลิเมตร ตามลำาดับ แต่อย่างไรก็ตาม
           disc diffusion                              พบว่าสารสกัดมะหาดที่สกัดด้วยเอทานอล 95% จะ


                ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางโซนการยับยั้งของสาร  ไม่แสดงฤทธิ์ยับยั้ง E. faecalis TISTR 927, P. mi-
           สกัดมะหาดที่สกัดด้วยตัวทำาละลาย 3 ชนิดต่อเชื้อ  rabilis TISTR 100, P. aeruginosa TISTR 1287

           ทดสอบชนิดต่าง ๆ (ตารางที่ 2) พบว่าสารสกัดมะหาด  และ S. Typhimurium TISTR 1469 บนอาหารแข็ง
           ที่สกัดด้วยเอทานอล 95% จะมีฤทธิ์ในการยับยั้งการ  และเมื่อทำาการเปรียบเทียบฤทธิ์ของการยับยั้งเชื้อ
           เจริญของเชื้อแบคทีเรียทดสอบทั้งแกรมบวกและ   ทดสอบของสารสกัดมะหาดที่สกัดด้วยเอทานอล 95%

           แกรมลบบนอาหารแข็ง ขณะที่ไม่พบฤทธิ์ในการยับยั้ง  กับยาปฏิชีวนะ amoxicillin (30 µg/disc) พบว่าสาร




           ตารางที่ 1 ลักษณะทางกายภาพของสารสกัดมะหาดและร้อยละของสารสกัด

            สารสกัดมะหาด                       ลักษณะทางกายภาพ               ร้อยละของสารสกัด

            สกัดด้วยน�้ากลั่น                    ของแข็งสีน�้าตาล                  0.43
            สกัดด้วยเอทานอล 95%                 ของแข็งสีน�้าตาลเข้ม               0.83
            สกัดด้วยเฮกเซน                       ของแข็งสีเหลือง                   0.08
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73