Page 65 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 65

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 17  No. 1  Jan-Apr 2019  55





               Antibacterial Activity of Artocarpus lakoocha Roxb. Crude Extract towards
               Common Human Pathogens

               Khakhanang Ratananikom , Nikom Srikacha , Yupaporn Khannalao *
                                     *,‡
                                                    †
               * Faculty of Science and Health Technology, Kalasin University, Kalasin 46000, Thailand
               † Faculty of Veterinary Medicine, Khon Kaen University, Khon Kaen 40002, Thailand
               ‡ Corresponding author:  khakhanang_r@yahoo.com

                                                 Abstract

                    This study aimed to investigate the antibacterial efficacy of Artocarpus lakoocha Roxb., heartwood crude
               extract by maceration, in different solvents against common human pathogens. It was found that A. lakoocha Roxb.
               crude extract in 95% ethanol showed strong antibacterial activity. The inhibition zone diameter towards Acromonas
               hydrophila TISTR 1321, Bacillus cereus TISTR 747, Bacillus licheniformis TISTR 1455, Escherichia coli TISTR
               117, Staphylococcus aureus TISTR 746 and Vibrio parahaemolyticus TISTR 1596 were 19.89 ± 0.67, 18.27 ± 0.69,
               14.92 ± 0.98, 17.06 ± 0.66, 14.84 ± 0.82 and 19.00 ± 0.42 millimeters, respectively. Yet, the antibacterial activity
               was not observed when using hexane and water as a solvent. Minimum Bactericidal Concentration, MBC of A.
               lakoocha Roxb. crude extract in 95% ethanol was in the range of 3,125–25,000 ppm. This data indicated that the
               extraction solvent plays a vital role in the antibacterial activity of A. lakoocha Roxb. crude extract. A. lakoocha
               Roxb. crude extract in 95% ethanol was able to destroy both gram positive and negative bacteria, but the efficacy
               might be different among pathogenic bacteria.
                    Key words:  Artocarpus lakoocha Roxb., antibacterial activity, pathogenic bacterial, crude extract






                             บทนำ�                      กรณีที่ร้ายแรงไปมากกว่านั้น คือ เป็นสาเหตุของการ

                 ถึงแม้ว่าการใช้ยาปฏิชีวนะในการรักษาโรคที่มี  เสียชีวิตในที่สุด

            สาเหตุมาจากแบคทีเรียจะมีประสิทธิผลสูงและเป็น     ด้วยสาเหตุนี้เองที่ในปัจจุบันมีความพยายามใน
            ที่นิยมในปัจจุบัน แต่อย่างไรก็ตามพบว่าการใช้ยา  การศึกษาถึงแหล่งของสารจากธรรมชาติที่มีฤทธิ์ใน

            ปฏิชีวนะอย่างไม่ถูกต้องและเกินความจำาเป็นมักจะ  การควบคุมแบคทีเรียก่อโรคโดยเฉพาะจากพืชชนิด
            นำามาซึ่งผลข้างเคียงเสมอ ทั้งในเรื่องปัญหาของการ  ต่าง ๆ ทั้งนี้เนื่องจากพืชจะสามารถผลิตสารทุติยภูมิ
            ตกค้างของสารเคมีในร่างกาย รวมไปถึงการดื้อยาของ  (secondary metabolite) เช่น tannins, saponins,

            แบคทีเรีย ซึ่งปัญหาเรื่องการดื้อยาของแบคทีเรียนี้ได้  flavonoids, alkaloids เป็นต้น นอกเหนือจากสาร
            ทวีความรุนแรงและเป็นหนึ่งในปัญหาที่สำาคัญทางการ  ปฐมภูมิ (primary metabolite) ที่ใช้ในการเจริญ

            แพทย์ในปัจจุบัน ทั้งนี้เนื่องจากทำาให้การรักษาโรคที่  เติบโตของพืช ซึ่งสารเหล่านี้เองที่พบว่ามีสรรพคุณใน
            มีสาเหตุมาจากแบคทีเรียเป็นไปได้ยากมากกว่าเดิม  การยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียก่อโรคได้  ซึ่งข้อดี
                                                                                         [1]
            นำามาซึ่งการสูญเสียเงินในการรักษาที่มากขึ้น หรือใน  ที่เด่นชัดของการใช้พืชในการควบคุมแบคทีเรียก่อ
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70