Page 75 - journal-14-proceeding
P. 75

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14


                                      PPem30S ประสิทธิผลของสุคนธบําบัดกลิ่นกระดังงารวมกับการนวดเทาตอ
                                      คุณภาพการนอนหลับของผูสูงอายุในศูนยพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผูสูงอายุ

                                      บานทักษิณอําเภอเมือง จังหวัดยะลา



               ชุติกาญจน นิโกบ, ชมพูนุช สุภาพวานิช, คอรีเยาะ อะแซ
               หลักสูตรการแพทยแผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลา
               หลักการและเหตุผล ปญหานอนไมหลับมักพบไดมากในกลุมผูสูงอายุ เนื่องจากคลื่นสมองระยะหลับลึกลดลง

               และระยะตื้นเพิ่มขึ้น ทําใหมีอาการตื่นบอยครั้งเมื่อถูกรบกวนและตื่นเร็วสงผลใหระยะการนอนหลับลดลง มี
               ผลตอคุณภาพชีวิตโดยรวม


               วัตถุประสงค เพื่อศึกษาการไดรับสุคนธบําบัดกลิ่นกระดังงารวมกับการนวดเทากับคุณภาพการนอนหลับของ
               ผูสูงอายุ

               วิธีดําเนินการ การศึกษานี้เปนการวิจัยเชิงกึ่งทดลอง ในผูสูงอายุจํานวน 30 คนที่มีปญหานอนไมหลับคือมี

               เกณฑคะแนนคุณภาพการนอนหลับเกิน 5 คะแนนขึ้นไป ในการแบงกลุมจะทําการจับฉลากเพื่อแบงกลุม
               ออกเปน 2 กลุม ไดแก กลุมทดลองคือกลุมที่ไดรับสุคนธบําบัดรวมกับการนวดเทา จํานวน 12 คน และ กลุม
               ควบคุมคือกลุมที่ไมไดรับสุคนธบําบัดรวมกับการนวดเทา จํานวน 18 คน โดยทางผูวิจัยทําการนวดเพียงคน
               เดียวซึ่งจะทําการนวด 3 ครั้งตอสัปดาห เปนเวลา 2 สัปดาห และใชแบบประเมินคุณภาพการนอนหลับ

               ของพิทสเบิรกและคณะ (The Pittsburgh Sleep QualityIndex : PSQI)  ฉบับแปลภาษาไทยโดยตะวันชัย
               จิรประมุขพิทักษ และวรัญ ตันชัยสวัสดิมีการประเมินคุณภาพการนอนหลับ 7 องคประกอบกอนและหลังการ
               ทดลองใชสุคนธบําบัดกลิ่นกระดังงารวมกับการนวดเทาและมีการควบคุมปจจัยในเรื่องของอาหารและยาที่มี
               ผลตอการนอนหลับ  วิเคราะหขอมูลใชสถิติ Paired t-testและ Independent t-test


               ผลการศึกษา คะแนนเฉลี่ยคุณภาพการนอนหลับทั้ง 7 องคประกอบหลังการทดลองใชสุคนธบําบัดกลิ่น
               กระดังงารวมกับการนวดเทาดีกวากอนทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (10.92 vs 7.83, p = < 0.001) และ
               เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมพบวากลุมทดลองใชสุคนธบําบัดกลิ่นกระดังงารวมกับการนวดเทาดีกวามี

               คุณภาพการนอนหลับดีกวาอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (9.28 vs 7.83, p = 0.031)

               ขอสรุป การใชสุคนธบําบัดกลิ่นกระดังงารวมกับการนวดเทาทําใหผูสูงอายุมีคุณภาพการนอนหลับดีขึ้น ดังนั้น
               การใชสุคนธบําบัดกลิ่นกระดังงารวมกับการนวดเทานาจะเปนอีกทางเลือกหนึ่งในการชวยการสงเสริมคุณภาพ

               การนอนหลับและอาจชวยลดปญหาการนอนไมหลับในผูสูงอายุได











                                                         73
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80