Page 73 - journal-14-proceeding
P. 73

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14


                                      PP60S0011 พฤติกรรมการใชสมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐานของประชาชนใน
                                      พื้นที่ ตําบลบานนา อําเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง



               สุพรรษา เกาะกลาง, ไพสิฐ จิรรัตนโสภา , สุธินี หูเขียว
               หลักสูตรการแพทยแผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลา

               หลักการและเหตุผล ปจจุบันเริ่มมีการยอมรับวาการแพทยแผนปจจุบันอยางเดียวไมสามารถแกปญหาสุขภาพ
               ไดทั้งหมด และมีขอจํากัดในการใหบริการประชาชนอยางทั่วถึง สมุนไพรจึงเปนทางเลือกหนึ่งที่สามารถ

               นํามาใชในการรักษาโรค ภาครัฐจึงมีนโยบายที่ตอเนื่องในการสงเสริมการใชสมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน
               จํานวน 67 รายการ โดยจําแนกสมุนไพรเพื่อการรักษาตามกลุมโรคระบบทางเดินอาหาร ระบบทางเดินหายใจ
               ระบบทางเดินปสสาวะ ระบบผิวหนังและการเจ็บปวยอื่น ๆ ซึ่งมีความจําเปนตอการนําไปใชในการดํารงชีวิต

               เพื่อการรักษาโรคและบรรเทาอาการเจ็บปวย

               วัตถุประสงค  เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใชสมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน และปจจัยที่มีความสัมพันธกับ
               พฤติกรรมการใชสมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐานของประชาชนในพื้นที่ตําบลบานนา อําเภอปะเหลียน
               จังหวัดตรัง


               วิธีดําเนินการ  การวิจัยครั้งนี้เปนการสํารวจเชิงพรรณนา (Descriptive Surveys) รวบรวมขอมูลโดยใช
               แบบสอบถาม ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือโดยผูเชี่ยวชาญ ทดลองใชกับกลุมตัวอยาง คือ ประชาชนในตําบล

               สุโสะ อําเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง วัดคาความเชื่อมั่น 0.71 ใชสถิติ Pearson correlation coefficient และ
               Chi - square เพื่อทดสอบความสัมพันธ โดยศึกษากลุมตัวอยางจํานวน 354 ครัวเรือน ในพื้นที่ตําบลบานนา
               อําเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง


               ผลการศึกษา พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศหญิง อายุระหวาง 41 - 60 ป จบการศึกษาในระดับ
               ประถมศึกษา ประกอบอาชีพเกษตรกรรม / อุตสาหกรรม มีรายไดเฉลี่ย 5,000 - 10,000 บาท มีความรู
               เกี่ยวกับการใชสมุนไพรในระดับปานกลาง (รอยละ 65.8) ทัศนคติตอการใชสมุนไพรในระดับดี (รอยละ 56.8)
               การรับรูประโยชนของการใชสมุนไพรในระดับปานกลาง (รอยละ 81.6) ความสะดวกในการใชสมุนไพรใน
               ระดับปานกลาง (รอยละ 85.6) การไดรับการสนับสนุนทางสังคมในระดับปานกลาง (รอยละ 61.0) และมี

               พฤติกรรมการใชสมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐานอยูในระดับปานกลาง (รอยละ 44.4) ซึ่งจากสมมุติฐาน
               พบวา ระดับการศึกษา อาชีพ รายได ความรู (r=-0.318) ทัศนคติ (r=-0.184) การรับรูประโยชน (r=-0.198)
               ความสะดวกในการใช (r=-0.46) และการไดรับการสนับสนุน (r=-0.5) มีความสัมพันธเชิงลบกับพฤติกรรมการใช

               สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐานอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) สวนเพศ อายุ ไมมีความสัมพันธกับ
               พฤติกรรมการใชสมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐานอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

               ขอสรุป ขอมูลที่ไดสามารถนํามาใชเปนแนวทางในการสงเสริมใหมีการใชสมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน

               และเปนการสนับสนุนการพึ่งตนเองของประชาชนเพื่อใหประชาชนเกิดความตระหนักในทรัพยากรที่มีคุณคา
               เปนการยกระดับมาตรฐานของสมุนไพรไทยใหเปนที่ยอมรับของประชาชนตอไป





                                                         71
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78