Page 71 - journal-14-proceeding
P. 71
บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14
อาสาสมัคร 3 ดานคือ ดานความถี่ (Frequency) ดานความรุนแรง (Intensity) และการรบกวนชีวิตประจําวัน
(Disruption),ระดับความรุนแรงอาการไอ (NRS scale)โดยไดจากการการคัดเลือกกลุมตัวอยางของประชาชน
ผูปวยชายหรือหญิงที่มีอายุระหวาง 18-60 ป ที่มีอาการไขหวัดและมีอาการไอ และ/หรืออาการเจ็บคอที่แพทย
ไดวินิจฉัยวาเปนโรคติดเชื้อทางเดินหายใจสวนบน(Upper respiratory track infection :URI)กําหนดขนาด
กลุมตัวอยางจํานวน 30 คนเปนกลุมควบคุม กลุมทดลอง 30 คน รวมทั้งสิ้น 60 คน โดยทั้ง 2 กลุม จะมี
ระยะเวลาอาการไอใกลเคียงกัน ระดับความรุนแรงของอาการไอใกลเคียงกัน จากการคัดกลุมตัวอยางแบบ
เจาะจง (Purposive Sampling)
ผลการศึกษา จากการวิจัยพบวา ผลการบรรเทาอาการไอจากการใชตํารับยาแกไอฝาง(กลุมทดลอง) และยา
แกไอน้ําดํา(กลุมควบคุม) ตออาการไอในผูปวยติดเชื้อทางเดินหายใจสวนบน พบวากอนใชยาบรรเทาอาการไอ
ในกลุมทดลอง อาการกอนรับการรักษา โดยรวมอยูในระดับปานกลาง (x= 3.45) หลังการใชยาบรรเทา
อาการไอในกลุมทดลอง พบวาอาการไอหลังรับการรักษา โดยรวมอยูในระดับนอย (x= 4.61)
ในสวนกลุมควบคุมพบวากอนการใชยาบรรเทาอาการในกลุมควบคุม อาการกอนรับการรักษา
โดยรวมอยูในระดับปานกลาง (x= 3.47) หลังการใชยาบรรเทาอาการไอในกลุมควบคุม พบวาอาการไอหลัง
รับการรักษา โดยรวมอยูในระดับนอย (x= 4.10)
คาเฉลี่ยของการบรรเทาอาการไอระหวางกลุมควบคุมและกลุมทดลองหลังการรักษาวันที่ 4 พบวา
แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยกลุมทดลองการใชยา หลังรับการรักษาวันที่ 4 มี
คาเฉลี่ยของการบรรเทาอาการไอ(x = 4.61) นอยกวา หลังรับการรักษาวันที่ 4 ของกลุมควบคุม(x = 4.10)
และผลการใชตํารับยาแกไอฝาง(กลุมทดลอง) และยาแกไอน้ําดํา(กลุมควบคุม) ตออาการลดระดับความรุนแรง
ของอาการไอในผูปวยติดเชื้อทางเดินหายใจสวนบน ผลการลดระดับอาการไอของกลุมทดลอง กอนรับการ
รักษาอยูในระดับไอมาก
(x= 6.67) และหลังรับการรักษาวันที่ 4 อยูในระดับ ไอนอย (x= 2.33)
ผลการลดระดับอาการไอของกลุมควบคุมกอนรับการรักษามีคาเฉลี่ยอยูในระดับไอปานกลาง (x= 6.23) และ
หลังรับการรักษาวันที่ 4 อยูในระดับ ไอปานกลาง (x= 4.60)
คาเฉลี่ยผลการลดระดับอาการไอระหวางกลุมควบคุมและกลุมทดลองหลังการรักษาวันที่ 4 พบวา
แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยกลุมทดลองการใชยา หลังรับการรักษาวันที่ 4 มี
คาเฉลี่ยอาการไอ(x= 2.33) ลดลง มากกวา หลังรับการรักษาวันที่ 4 ของกลุมควบคุม(x= 4.60)
สงผลใหงานวิจัยนี้เปนเรื่องที่ดีตอการใชผลิตภัณฑสมุนไพรเพื่อทดแทนยาแผนปจจุบันใหมีการใชเพิ่มมากขึ้น
เนื่องจากสมุนไพรในตํารับยาแกไอฝางสามารถปลูกและหาวัตถุดิบไดเองภายในประเทศ
ขอสรุป งานวิจัยครั้งนี้สามารถนําไปประกอบดานการรักษาทางการแพทยแผนไทย ซึ่งเปนเรื่องที่ดีในดาน
ผลิตภัณฑยาสมุนไพร ที่มีสรรพคุณสามารถบรรเทาอาการไอและลดระดับความรุนแรงไดอยางมีประสิทธิผล
และสามารถทดแทนยาแผนปจจุบันได ซึ่งทําใหเกิดการพึ่งพาตนเอง และลดตนทุนขององคกรซึ่งตนทุนของ
ตํารับยาแกไอฝางขนาดปริมาณ 60 มิลลิลิตร อยูที่ราคาขวดละ 9 บาท ซึ่งจะแตกตางกับยาแกไอน้ําดํา
(Brown mixture) ขององคการเภสัชกรรม เปนยาสามัญประจําบาน ขนาดปริมาณ 60 มิลลิลิตร อยูที่ราคา
ขวดละ 20 บาท เมื่อนํามาเปรียบเทียบราคาตนทุนพบวามีความแตกตางกันอยูที่ 11 บาท จึงสามารถนํา
ผลการวิจัยนี้ไปประกอบกับการพิจารณาการสงเสริมการใชยาสมุนไพร เพื่อสรางความเชื่อมั่นในการใช
ผลิตภัณฑยาสมุนไพรตํารับนี้ อันเปนการสรางชื่อเสียงและการยอมรับดานสมุนไพรตอสหวิชาชีพดานตางๆ
และประชาชนทั่วไปที่สนใจตอไป
69