Page 79 - journal-14-proceeding
P. 79

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14


                                      PPem29R การดูแลรักษาสุขภาพผูปวยอัมพฤกษอัมพาตดวยศาสตรการแพทย
                                      แผนไทยใน อําเภอทาวังผา จังหวัดนาน


               พักตรพิไล  ไชยเพียร, จรัญ  หาญคํา, สงา  ยาวิไชย
               ฝายงานแพทยแผนไทย โรงพยาบาลทาวังผา อําเภอทาวังผา จังหวัดนาน

               หลักการและเหตุผล โรคอัมพฤกษอัมพาต จัดเปนการเจ็บปวยดวยโรคเรื้อรัง จากสถิติขอมูลคนพิการของ
               จังหวัดนาน ปพ.ศ.2559 พบวามีผูพิการในเขตอําเภอทาวังผา จังหวัดนาน ทั้งหมด 1,757 ราย เปนผูพิการ
               ทางการเคลื่อนไหวหรือทางกาย 679 ราย จําแนกเปนเพศหญิง 326 ราย เพศชาย 353 ราย ถูกวินิจฉัยดวย

               โรคหลอดเลือดทางสมองประเภทมีการอุดตันและ/หรือมีเลือดออก และมีแนวโนมของผูพิการเพิ่มมากขึ้นใน
               แตละป ปญหาดังกลาว สงผลกระทบตอคุณภาพชีวิตของผูปวย ทั้งทางดานรางกายและสภาพจิตใจ ผูปวยเกิด
               ความทุกขทรมาน ไมสามารถประกอบกิจวัติประจําวันไดเหมือนเดิม ฝายงานแพทยแผนไทยโรงพยาบาล
               ทาวังผา จึงไดวางแผนการรักษาการพัฒนากระบวนการดูแลรักษาผูปวยโรคอัมพฤกษอัมพาต กระจายการ

               บริการเขาสูชุมชน เพิ่มโอกาสในการเขาถึงสถานพยาบาล โดยเนนการดูแลสุขภาพแบบบูรณาการ ทั้งดานการ
               สงเสริมปองกัน การบําบัดรักษาและ การฟนฟูสุขภาพปญหาสุขภาพ

               วัตถุประสงค เพื่อศึกษาผลของดูแลรักษาสุขภาพผูปวยอัมพฤกษอัมพาตดวยศาสตรการแพทยแผนไทยใน

               อําเภอทาวังผา จังหวัดนาน

               วิธีการดําเนินการ  วิจัยเชิงกึ่งทดลอง คัดเลือกกลุมตัวอยางแบบเจาะจง จํานวน 32 ราย ที่อาสาสมัครเขารวม
               กิจกรรมโดยความสมัครใจทั้งจากตัวผูปวยและญาติ ระหวางเดือนสิงหาคมถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2559

               รูปแบบการรักษาประกอบดวย 6  ขั้นตอน 1)  การนวดฟนฟูสภาพ 2) การทํากายภาพดวยการเคลื่อนไหวขอ
               ตางๆทั่วรางกาย 3) การประคบรอนดวยลูกประคบสมุนไพรนึ่ง 4) การแชเทาดวยน้ําสมุนไพร
               5) การเคลื่อนไหวขอในน้ําใหกับผูปวย 6) การฝกการเคลื่อนไหวของกลามเนื้อแขนและขา ตลอดจนฝกเดิน
               ประเมินผลผูวิจัยไดทําการจัดอบรมแกผูชวยแพทยแผนไทย โดยใหผูชวยแพทยแผนไทยที่เปนจิตอาสาเปนผู

               ประเมินความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจําวันในกลุมตัวอยางทุกราย ทุกสัปดาห จาก1) แบบ
               สัมภาษณ  2) แบบบันทึกผูปวย (OPD Card)  3) แบบประเมิน ADL แบบประเมินที่ครบถวนเทานั้นที่นํามา
               วิเคราะหขอมูล


               ผลการศึกษา ความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจําวันรายดาน (ADL) 3 ครั้ง พบวาหลังไดรับการรักษา
               5 เดือน ทุกดานมีคาคะแนนเฉลี่ยสูงกวาหลังไดรับการรักษา 1 เดือน และหลังไดรับการรักษา1เดือน ทุกดานมี
               คาคะแนนเฉลี่ยสูงกวาเมื่อแรกเขารับการ เมื่อวิเคราะหเปรียบเทียบคาเฉลี่ยรายคู พบวา คาเฉลี่ยของ
               ความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจําวันหลังรับการรักษา1เดือน เพิ่มขึ้นจากแรกรับเขารักษา และหลัง

               รับการรักษา 5 เดือน เพิ่มขึ้นจากหลังรับการรักษา 1 เดือนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ(p<0.001) และรอยละ
               90 พบวาเจาหนาที่แพทยแผนไทยมีบทบาทเพิ่มมากขึ้นในการเขามาดูแลผูปวย ผูปวยและญาติเกิดความ
               ไววางใจ และเชื่อมั่นในการเขารับการรักษา


               ขอสรุป รูปแบบการรักษาทั้งหมด 6  ขั้นตอน ประกอบกันสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงบวก กลาวคือมี
               ความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจําวันดีขึ้นในผูปวยโรคอัมพฤกษอัมพาต ซึ่งยอมนําไปสูการสงเสริมให

               ผูปวยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นตามลําดับเวลาและสามารถนําไปขยายเปนแผนการรักษาตอในเขตอําเภออื่น ๆ ได


                                                         77
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84