Page 74 - journal-14-proceeding
P. 74

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14


                                      PP60S0013 พฤติกรรมการใชสมุนไพรของผูปวยโรคขอเขาเสื่อมในโรงพยาบาล
                                      ชัยบุรี อําเภอชัยบุรี จังหวัดสุราษฎรธานี



               กาญจนาวดี อิสระสุข, ไพสิฐ จิรรัตนโสภา, สุธินี หูเขียว
               หลักสูตรการแพทยแผนไทย วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลา

               หลักการและเหตุผล  ปจจุบันโรคขอเขาเสื่อมเปนปญหาสาธารณสุขที่สําคัญ พบมากในวัยกลางคน และ
               ผูสูงอายุ สําหรับประเทศไทยพบไดบอยที่สุดในโรคขอเขาทั้งหมด และจังหวัดสุราษฎรธานีเปนจังหวัดที่ประสบ

               ปญหานี้ เห็นไดจากรายงานผูปวยโรคขอเขาเสื่อมของโรงพยาบาลชัยบุรี อําเภอชัยบุรี จังหวัดสุราษฎรธานี ใน
               ป พ.ศ. 2557 - 2558 คิดเปนรอยละ 2.25 และ 3.42 ตามลําดับ โดยผูปวยสวนหนึ่งใชยาแผนปจจุบันในการ
               รักษา และอีกกลุมหนึ่งใชสมุนไพรควบคูกับยาแผนปจจุบัน  ทําใหผูศึกษาสนใจที่จะศึกษาพฤติกรรมการใช

               สมุนไพรของผูปวยโรคขอเขาเสื่อม เพื่อนําผลที่ไดมาใชในดูแลรักษาผูปวยโรคขอเขาเสื่อม

               วัตถุประสงค  เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใชสมุนไพรของผูปวยโรคขอเขาเสื่อม  และปจจัยที่มีความสัมพันธตอ
               พฤติกรรมการใชสมุนไพรของผูปวยโรคขอเขาเสื่อมในโรงพยาบาลชัยบุรี อําเภอชัยบุรี จังหวัดสุราษฎรธานี


               วิธีการดําเนินการ การศึกษาครั้งนี้ใชรูปแบบการวิจัยเชิงบรรยาย  (Descriptive  research) โดยใชวิธีการ
               รวบรวมขอมูลเปนแบบสอบถามที่ผูวิจัยไดสรางขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรม ซึ่งใหผูเชี่ยวชาญเปนผูพิจารณา
               เนื้อหา แลวจึงนําไปทดสอบกับผูปวยโรคขอเขาเสื่อมของโรงพยาบาลพระแสง อ.พระแสง จังหวัดสุราษฎรธานี
               จํานวน 30 คน และวิเคราะหหาความเชื่อมั่น ใชวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟา ไดระดับความเชื่อมั่นเทากับ 0.89 โดย
               ศึกษาผูปวยโรคขอเขาเสื่อมที่ขึ้นทะเบียนของโรงพยาบาลชัยบุรี อําเภอชัยบุรี จังหวัดสุราษฎรธานี พ.ศ. 2559
               จํานวน 80 คน และใชสถิติ Chi – Square และ Pearson correlation coefficient เพื่อหาความสัมพันธ

               ผลการศึกษา พบวาสวนใหญเปนเพศหญิง อายุระหวาง 60 - 69 ป การศึกษาจบประถมศึกษา ประกอบอาชีพ
               เกษตรกรรม มีรายไดระหวาง 5000 - 10000 บาทตอเดือน ระยะเวลาที่เปนโรคสวนใหญ 1 - 2 ป สวนใหญ

               ไมมีโรคประจําตัว ไดรับขอมูลขาวสารจากบุคลากรดานสาธารณสุข รูปแบบสมุนไพรเปนยาตม แหลงสมุนไพร
               สวนใหญเก็บตามธรรมชาติ  มีความรูเกี่ยวกับสมุนไพรอยูในระดับปานกลาง รอยละ 53.75  และมีความรู
               เกี่ยวกับโรคขอเขาเสื่อมอยูในระดับสูงรอยละ 42.50  มีทัศนคติอยูในระดับปานกลาง รอยละ 62.50  มี

               พฤติกรรมการใชสมุนไพรอยูในระดับปานกลาง รอยละ 80.00 ซึ่งจากสมมติฐานพบวา อายุ รายได การไดรับ
               ขอมูลขาวสาร ทัศนคติ (r=0.430) มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการใชสมุนไพรของผูปวยโรคขอเขาเสื่อมอยางมี
               นัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) สวนเพศ ระดับการศึกษา อาชีพ ระยะเวลาที่เปนโรค โรคประจําตัว รูปแบบการใช
               สมุนไพร แหลงที่มาของสมุนไพร ความรูเกี่ยวกับสมุนไพร ความรูเกี่ยวกับโรคขอเขาเสื่อม ไมมีความสัมพันธกับ
               พฤติกรรมการใชสมุนไพรของผูปวยโรคขอเขาเสื่อม


               ขอสรุป ขอมูลที่ไดสามารถนํามาใชเปนแนวทางในการสงเสริมการใชสมุนไพรของผูปวยโรคขอเขาเสื่อม
               เพื่อใหเกิดความตระหนักในการนําสมุนไพรมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด








                                                         72
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79