Page 70 - journal-14-proceeding
P. 70

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14

                                    PP60S0001   การเปรียบเทียบผลการใชตํารับยาแกไอฝางและยาแกไอน้ําดําตอ
                                    อาการไอในผูปวยติดเชื้อทางเดินหายใจสวนบน โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชหลม
                                    เกา  จังหวัดเพชรบูรณ



                           1
                                            1
               ธนพนธ กีเวียน , ศิริรัตน พฤทธิ์ปญญา , สถาพร สัตยซื่อ 2
                                                        2
               1  โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชหลมเกา อ.หลมเกา จ.เพชรบูรณ   ภาควิชาการแพทยแผนไทย วิทยาลัยเทคโนโลยีทาง
               การแพทยและสาธารณสุข กาญจนาภิเษก จ.นนทบุรี
               หลักการและเหตุผล ในปพ.ศ. 2556 โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ ไดนําตํารับยา
               แกไอหมอพื้นบานมาปรุงเปนยาน้ําแกไอละลายเสมหะ ลดอาการระคายคอ และสงยาตํารับแกไอฝางไปทําการ
               ตรวจวิเคราะหคุณภาพมาตรฐานตามโครงการคุณภาพวัตถุดิบและยาสมุนไพรที่ผลิตหรือมีใชในโรงพยาบาล
               โดยศูนยวิทยาศาสตรการแพทยที่ 2 พิษณุโลก กรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข มีการ

               รายงานผลการตรวจวิเคราะหพบวาสูตรตํารับยาแกไอฝางไดเขามาตรฐานตามแบบมาตรฐานที่กําหนด สําหรับ
               ตํารับยาแกไอมีสวนผสมของสมุนไพรประกอบไปดวยฝางเสน พริกไทย เปลือกหอยแครง สารสม ขันฑสกร
               กานพลู ซึ่งในตํารับยาไทยคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (ม.ป.พ.) พบวา

                       แกนฝางตมน้ําดื่ม บํารุงโลหิต แกปอดพิการ แกรอนในกระหายน้ํา ยาฝาดสมาน แกทองรวง ธาตุ
               พิการ แกโลหิตออกทางทวารหนัก ขับเสมหะ แกไอ ขับระดู เปนยาบํารุงโลหิตสตรี แกกําเดา ทําโลหิตใหเย็น
               แกโลหิตออกทางทวารหนักและเบา แกคุดทะราด ซึ่งแสดงถึงการบรรเทาอาการไอของผูปวย
                       พริกไทย มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา มีฤทธิ์ตานออกซิเดชัน ลดการอักเสบ กดระบบประสาทสวนกลาง

               ระงับอาการชัก ยับยั้งการกระจายของเซลลมะเร็ง ตานเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา ตานเชื้อแบคทีเรียในชองปาก
               ยับยั้งเอนไซม acetylcholine esteraseพริกไทยลอนมีรสเผ็ดรอนใชเปนยาขับลม ขับเหงื่อ แกทองอืด
               ทองเฟอ เปนยาบํารุงธาตุ ชวยใหเจริญอาหาร ขับลม ขับเสมหะ บํารุงธาตุ ซึ่งแสดงถึงการบรรเทาอาการไอ
               ของผูปวย

                       เปลือกหอยแครง ไมพบฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา แตพบสรรพคุณในการขับเสมะทําใหชุมคอ
                       ดอกกานพลูมีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ฤทธิ์ตานจุลชีพ  กานพลูมีฤทธิ์ตานเชื้อแบคทีเรีย  น้ํามันหอม
               ระเหยมีฤทธิ์ตานเชื้อแบคทีเรียทั้งแกรมบวกและลบ  และเชื้อราหลายชนิด  ผงยา  สารสกัดแอลกอฮอล  และ
               สารสกัดน้ํามีฤทธิ์ตานเชื้อแบคทีเรียทั้งแกรมบวกและลบหลายชนิด ซึ่งในตํารับยาไทยพบวา ดอกกานพลูมีรส

               เผ็ด กระจายเสมหะ แกเสมหะเหนียว ซึ่งแสดงถึงการบรรเทาอาการไอของผูปวย
                       ดังนั้นทางผูวิจัยเล็งเห็นความสําคัญของตํารับยาสมุนไพรหมอพื้นบาน และการใชยาสมุนไพร จึงไดมี
               การศึกษาการเปรียบเทียบผลการใชตํารับยาแกไอฝางกับยาแกไอน้ําดําแผนปจจุบันตออาการไอในผูปวยติดเชื้อ

               ทางเดินหายใจสวนบน เปนการสนับสนุนการใชผลิตภัณฑสมุนไพรเพื่อทดแทนยาแผนปจจุบันใหเพิ่มมากขึ้น

               วัตถุประสงค เพื่อเปรียบเทียบผลของการใชตํารับยาแกไอฝางกับยาแกไอน้ําดํา ตอการบรรเทาอาการไอ และ
               เพื่อเปรียบเทียบผลของการใชตํารับยาแกไอฝางกับยาแกไอน้ําดํา ตอการลดระดับความรุนแรงของอาการไอ

               ของผูปวยติดเชื้อทางเดินหายใจสวนบน โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ

               วิธีดําเนินการ งานวิจัยนี้เปนงานวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Qusai–experimental research) มีกลุมควบคุมผูปวย
               ที่ไดรับยาแกไอน้ําดํา (Brown mixture) ขององคการเภสัชกรรม เปนยาสามัญประจําบานและกลุมทดลองที่

               ไดรับตํารับยาแกไอฝาง และเปดเผยการรักษา (Open-label  trials)โดยใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลดวย
               แบบสอบถาม ประกอบดวย แบบบันทึกขอมูลทั่วไป (ลักษณะบุคคล), แบบประเมินลักษณะอาการไอของ


                                                         68
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75