Page 80 - journal-14-proceeding
P. 80

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14


                                      PP60R2R0009 การศึกษาผลการเผายาสมุนไพรตอกลุมอาการโรคที่วินิจฉัยดวย
                                      ศาสตรแพทยแผนไทย


               แรมณภา เวฬุวนาธร
               วท.บ สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ บานคลองบางปง จ.สมุทรปราการ

               หลักการและเหตุผล ความเปนมาของการแพทยแผนไทย แพทยพื้นบาน หรือหมอพื้นบาน ที่สืบทอดกันมาตั้งแต
               พุทธกาล นับเปนพัน ๆ ป มากมายหลายศาสตรหลายแขนงลวนแลวแตมีบันทึกไวตามผนังถ้ํา ตามเสา ศาลาวัด
               โบสถวิหาร ปบลาน ปบสา สมุดขอย หรือแผนศิลาจารึก ดังปรากฏใหเห็น เชน การนวดราชสํานัก การนวดเชลย
               ศักดิ์ ฤๅษีดัดตน การเผายาเปนการชวยใหเกิดการกระจายลม ดังนั้นเราจะเผายา ก็ตอเมื่อเราตรวจพบวา ปญหา

               ของผูปวยนั้นมีอาการทางวาตะเปนหลัก หรือตรวจประเมินพบวา มีการคั่งคางติดขัดของลมเปนกอนเปนลูก
               เกิดขึ้นได เชน การเกิดลักษณะคุละมะ(กอนลม) ดานลมหรือลมจําพวกหนึ่งที่พัดใหเกิดการคุมของเสมหะเปนกอน
               ดานที่ตําแหนงตางๆในรางกาย ซึ่งการเผายาจะชวยในการเกิดกําลังของลมเพิ่มขึ้น ทําใหเกิดการพัดพาอยาง
               ตอเนื่อง แตไมรุนแรงทําใหการติดขัดหรือกอนเสมหะที่เกิดจากลมนั้นลดลงได


               วัตถุประสงค เพื่อเก็บรวบรวมขอมูลการศึกษาผลการเผายาสมุนไพรตอกลุมอาการโรคที่วินิจฉัยดวยศาสตรแพทยแผนไทย

               วิธีการดําเนินการศึกษา ในการวิจัยครั้งนี้ เปนการวิจัยแบบกึ่งทดลอง มีการรักษาและเก็บผลการรักษา รวบรวมขอมูลการ
               รักษาการเผายาสมุนไพรเพื่อบรรเทาอาการของโรคในอาการตางๆ เครื่องมือที่ใชในการวัดระดับความเจ็บปวด pain  scale
               ชื่อตํารับวา ประธานวาตะ ประกอบดวยไพล ขมิ้นชัน ตะไคร ผิวมะกรูด ขา อยางละเทากัน การบูร 1ชอนชา  สรรพคุณ

               ชวยกระจายเลือดและลม ตามเสนประธานสิบ ขั้นตอนการเผายาดังนี้ 1.วางผาชุบน้ําแลวเฉวียนรอบสะดือคนไข 2.นําตํารับ
               ยาและเกลือโปรยใสบริเวณรอบสะดือ3.นําผาชุบน้ําอีกผืนวางลงบนสมุนไพร แลวเทแอลกอฮอล95 % พอหมาดแลวจุดไฟ
               4.ทําซ้ํา5-7ครั้ง แลวแตความรุนแรงของโรค ผูปวยที่มารักษาดวยอาการ  ทองอืดทองเพอ ปวดหลัง (ลมปลายปตฆาต) ปวด
               ไหล ปวดเขา (จับโปงเขา) ที่รับการตรวจและวินิจฉัยดวยแพทยแผนไทย สอน.บานคลองบางปง ตั้งแตเดือน มกราคม 2559
               – เดือนธันวาคม 2559 จํานวนทั้งหมด  10,611 ใชบริการแพทยแผนไทย 2,482  คิดเปนรอยละ 23.39  รักษาดวยศาสตร
               การเผายา 185 ราย  คิดเปนรอยละ 7.45   ของการใหบริการแพทยแผนไทยทั้งหมด


               ผลการศึกษา
               พบวา กลุมอาการโรคที่ผูปวยมารับบริการมากที่สุดโดยศาสตรการเผายาสมุนไพร อาการปวดหลัง คิดเปน  รอยละ
               44.09 และรองลงมาคือ อาการทองอืดทองเฟอ คิดเปนรอยละ 30.10 ปวดเขา 25.26และที่มา     ดวยอาการนอยที่สุด
               คือการปวดไหล คิดเปนรอยละ13.97 จากกลุมตัวอยาง60คน ใน4กลุมอาการโรคปวดหลังคิดเปนรอยละ 25  ทองอืด

               ทองเฟอ รอยละ 25  ปวดไหล รอยละ 25 ปวดเขารอยละ 25 กลุมละเทาๆกัน  แลวพบวาอัตราการหายของกลุมอาการที่
               รักษาดวยการเผายาสมุนไพร อาการดีขึ้น pain scale 0-3 ในจํานวนกลุมทดลอง 60 คน ครั้งที่ 1 อาการดีขึ้นจํานวน
               41 คน รอยละ 68.33  ครั้งที่ 2 จํานวน 11คน รอยละ 18.33 และครั้งที่ 3 จํานวน 7 คน   คิดเปนรอยละ 11.66

               ขอสรุป

               กระบวนการการเผายาสมุนไพร เปนหัตการหนึ่งที่มีประสิทธิภาพในการรักษาความผิดปกติทางวาตะ ซึ่งเปนการใหความ
               รอนโดยตรงแกรางกายเพื่อใหเกิดการเคลื่อนที่ของลมตามที่แพทยแผนไทยผูใหการรักษาตองการ อยางไรก็ตาม
               กระบวนการนี้มีผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงของตราติในรางกายอยางมากดังนั้นแพทยแผนไทยที่ทําการรักษา
               จําเปนตองมีการประเมินอยางถูกตองและเหมาะสมในทุกๆดานและทําหัตการอยางระมัดระวัง




                                                         78
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85