Page 72 - journal-14-proceeding
P. 72

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14


                                      PP60S0007   ประสิทธิผลของสเปรยขมิ้นชันเปรียบเทียบกับการนวดราชสํานัก
                                      ในผูปวยขอเขาเสื่อม



               นิกร เปงมา
               โรงพยาบาลพญาเม็งราย อําเภอพญาเม็งราย จังหวัดเชียงราย

               หลักการและเหตุผล โรคกระดูกและขอเปนปญหาสุขภาพที่สําคัญเนื่องจากอุบัติการณของโรคเพิ่มขึ้นอยาง
               ตอเนื่อง โดยขอที่เสื่อมมากที่สุด คือ ขอเขา เนื่องจากขอเขาเปนขอที่มีขนาดใหญและตองรับน้ําหนักของ
               รางกายโดยตรง ทั้งยังตองทําหนาที่เคลื่อนไหวเกือบตลอดเวลา ทําใหขอเสื่อมไดงาย ดังนั้นผูวิจัยมีความสนใจ

               ในการนําขมิ้นชันมาแปรรูปเปนผลิตภัณฑในรูปแบบของสเปรย เพื่อใชในผูปวยขอเขาเสื่อม เปรียบเทียบกับ
               การนวดราชสํานัก ทั้งนี้เพื่อตองการศึกษาดูประสิทธิผลของขมิ้นชันวาสามารถลดระดับความเจ็บปวดจาก
               อาการขอเขาเสื่อมชนิดปฐมภูมิ  ไดดีเพียงใด โดยเฉพาะในผูสูงอายุซึ่งรางกายมีความเสื่อมตามอายุขัยอยูแลว

               การเสื่อมของขอเขายิ่งมีผลกระทบตอทั้งรางกายและจิตใจของผูสูงอายุที่เปนโรคนี้ดวย ซึ่งนั่นหมายถึงถา
               ขมิ้นชันสามารถลดระดับความเจ็บปวดขอเขาไดจริง ก็จะทําใหผูปวยลดคาใชจาย และลดภาระของผูใกลชิดใน
               การดูแลผูปวยขอเขาเสื่อมไดมาก


               วัตถุประสงค เพื่อศึกษาประสิทธิผลของสเปรยขมิ้นชันเปรียบเทียบกับประสิทธิผลของการนวดราชสํานัก
               (ใชสูตรการนวดจับโปงเขาแหง) บรรเทาอาการปวดขอ ในผูปวยขอเขาเสื่อมชนิดปฐมภูมิ

               วิธีดําเนินการ การศึกษาครั้งนี้ เปนการศึกษากึ่งทดลอง แบบเจาะจง ทําการศึกษา  กับกลุมผูปวยขอเขาเสื่อม

               ที่มารับบริการที่งานแพทยแผนไทย โรงพยาบาลพญาเม็งราย จังหวัดเชียงราย โดยเปรียบเทียบผลของสเปรย
               ขมิ้นชันกับนวดราชสํานัก ซึ่งไดแบงผูปวยออกเปน 2 กลุม คือ กลุมที่ใชสเปรย 30 คน กับกลุมนวดราชสํานัก
               30  คน รวม 60 คน แตละกลุมไดรับการติดตามประเมินผล ทุก 2 วัน เปนระยะเวลา 1 เดือน ติดตอกัน การ
               ประเมินระหวางกลุมนวดราชสํานักกับกลุมใชสเปรยขมิ้นชัน โดยใชแบบสอบถาม


               ผลการศึกษา พบวากลุมนวดราชสํานัก และกลุมใชสเปรยขมิ้นชัน มีอาการปวดขอเขากอนและหลังแตกตาง
               กันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ  เมื่อทดสอบดวยคา t-test  พบวาความแตกตางกันไมมีนัยสําคัญทางสถิติ
               (p =0.112) ผลการเปรียบเทียบระดับความเจ็บปวดขอเขา ระหวางที่ไดรับการทดลองตางกัน พบวา อาการ

               ปวดขอเขาของกลุมตัวอยางหลังการศึกษาทั้ง 2  กลุม อยูในระดับปวดเล็กนอย แสดงใหเห็นวามีอาการดีขึ้น
               สามารถลดระดับความเจ็บปวดไดไมแตกตางกัน

               ขอสรุป สเปรยขมิ้นชันอาจใชเปนทางเลือกหนึ่งในการลดระดับความเจ็บปวดขอเขา และจะใหผลดีเมื่อเริ่มใช

               สเปรยขมิ้นชันนี้ตั้งแตเริ่มมีอาการปวดขอหรือการอักเสบเล็ก ๆ นอย ๆ และยังชวยลดคาใชจายได ลดภาระ
               และผลกระทบของผูใกลชิดในการดูแลผูปวยขอเขาเสื่อมได และเปนแนวทางในการศึกษาสมุนไพรชนิดอื่น
               เพื่อสรางทางเลือกในการบําบัดอาการปวดในสวนตาง ๆ ของรางกายตอไป








                                                         70
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77