Page 153 - journal-14-proceeding
P. 153
บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14
PP60G0028G การทดสอบประสิทธิภาพเบื้องตนของสารสกัดจากลูกขี้กาใน
การยับยั้งแบคทีเรียกอโรคบางชนิด
2
1
นูรีฮัน มะแซ สายใจ วัฒนเสน
1
โรงพยาบาลเบตง อําเภอเบตง จังหวัดยะลา 95110
2 โปรแกรมวิชาชีววิทยาและชีววิทยาประยุกต คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
หลักการและเหตุผล ในปจจุบันการนําสารสกัดจากธรรมชาติมาใชประโยชนในการผลิตเครื่องสําอางไดรับความนิยม
จากผูใชเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากการพัฒนาของเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเครื่องสําอาง ซึ่งไดพัฒนาเปนที่ยอมรับทั้งในและ
ตางประเทศ ทั่งยังเปนอีกหนึ่งทางเลือกสําหรับผูที่รักสุขภาพ ที่หลีกเลี่ยงการใชสารเคมีที่อาจกอปญหาสุขภาพ
เพิ่มขึ้นตามลําดับ ไดแกการกอใหเกิดการระคายเคืองหรือแพสารเคมี ทําใหมีการหันกลับ มาสนใจธรรมชาติและสิ่งที่
เปนธรรมชาติมากขึ้น โดยขี้กาแดง (Gymnopetalum integrifolim Kurz.) เปนสมุนไพรจากธรรมชาติอีกชนิดหนึ่งที่
มีสรรพคุณหลากหลาย โดยเนื้อและเมล็ดของผลขี้กาแดง พบสารสําคัญ 3 ชนิดที่ไดจากการแยกและสามารถหาสูตร
โครงสรางไดคือ ของผสมกรดคารบอกซิลิกโซตรงยาว, ของผสม (...)-sito-sterol-3-O-(...)-D-glucopyranoside และ
stigmasterol-3-O-(...)-D-glucopyranoside สําหรับสารที่เหลืออีกหนึ่งชนิดนั้นยังไมสามารถหาสูตรโครงสรางได
ซึ่งหนึ่งในสารสําคัญดังกลาวเปนสารประกอบของกรดที่สามารถพบเจอในครีมที่ใชรักษาสนเทาแตกได ดวยเหตุนี้ ทํา
ใหผูวิจัยสนใจที่จะพัฒนาสารจากผลขี้กาแดงมาเปนสารใหความชุมชื้นแกผิว
วัตถุประสงค เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการใชสารสกัดผลขี้กาแดงในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียทั้งแกรมลบคือ
Escherichia coli Salmonella Typhimurium และแกรมบวกคือ Staphylococcus aureus
วิธีดําเนินงาน นําแบคทีเรียกอโรคระบบทางเดินอาหาร 3 ชนิดไดแก Escherichia coli Staphylococcus
aureus และ Salmonella Typhimurium มาเลี้ยงใหเปนเชื้อบริสุทธิ์บนอาหารแข็ง จากนั้นนําเชื้อบริสุทธิ์ของแต
ละชนิด 2-3 โคโลนี มาเลี้ยงในอาหารเหลว nutrient broth นําไปบมที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส ดวยอัตราการ
เขยาที่ความเร็วรอบ 150 รอบตอนาที เปนเวลา 24 ชั่วโมง นําไปปรับความขุนใหได 0.5 McFarland จากนั้นใชไม
พันสําลีที่ปราศจากเชื้อจุมเชื้อแบคทีเรียที่ตองการบิดใหแหงพอหมาด ๆ กับขางหลอด จากนั้นนําไปเกลี่ย (swab) ให
ทั่วผิวหนาอาหาร nutrient agar ทิ้งไวใหผิวหนาอาหารแหงประมาณ 3-5 นาที นํากระดาษกรองวงกลม (disc)
ขนาดเสนผานศูนยกลาง 6 มิลลิเมตร ที่ผานการฆาเชื้อแลวมาหยดตัวอยางสารสกัดปริมาตร 10 ไมโครลิตรตอ disc
ทิ้งไวใหแหงที่อุณหภูมิหอง จากนั้นนําแผน disc ที่ไดไปทดสอบประสิทธิภาพของสารสกัดในการยับยั้งแบคทีเรีย โดย
นําแผน disc ของสารสกัดที่ได มาวางลงบนผิวหนาอาหารที่ทําการเกลี่ยเชื้อแบคทีเรียทดสอบไวแลวขางตนกดเบา ๆ
เพื่อใหติดกับผิวหนาอาหาร จากนั้นนําไปบมไวที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เปนเวลา 24 ชั่วโมง ตรวจผลการ
ทดสอบโดยวัดบริเวณสวนใสนํามาคํานวณหาบริเวณการยับยั้ง (inhibition zone) จากสูตร inhibition zone = เสน
ผานศูนยกลางของโซน disc และโซนใส – เสนผานศูนยกลางของแผน disc
ผลการศึกษา จากการทดสอบฤทธิ์ของสารสกัดจากลูกขี้กาในการยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียเบื้องตนพบวาที่
ตัวอยางสารสกัดปริมาตร 10 ไมโครลิตรตอ disc สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อที่ทดสอบไดทุกชนิดโดยสามารถ
ยับยั้งการเจริญของเชื้อ Salmonella Typhimurium ไดดีที่สุดโดยมีบริเวณการยับยั้งเทากับ 2.54 มิลลิเมตร
รองลงมาไดแก เชื้อ Escherichia coli และเชื้อ Staphylococcus aureus ซึ่งมีบริเวณการยับยั้งเทากับ 2.17
มิลลิเมตร และ 1.84 มิลลิเมตร ตามลําดับ
151