Page 129 - journal-14-proceeding
P. 129

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14

                                      PP60CR0075 การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑพอกเขาเพื่อดูแลผูสูงอายุในกลุม

                                      โรคขอเขาเสื่อมดวยฟางขาวและสมุนไพรในชุมชนของโรงพยาบาลลาดบัว

                                      หลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

               มารุต  พานทอง, พัชรณัฏฐ จิตรีปลื้ม
               รพ.ลาดบัวหลวง อ.ลาดบัวหลวง จ.พระนครศรีอยุธยา

               หลักการและเหตุผล ปจจุบันประเทศไทยกาวเขาสูสังคมผูสูงอายุ ซึ่งปญหาเกี่ยวกับผูสูงอายุโดยเฉพาะโรคขอ
               เขาเสื่อมยังพบอยูเปนจํานวนมาก ดานหลักแพทยแผนไทยสามารถดูแลผูปวยกลุมนี้ไดในมิติดานการสงเสริม
               สุขภาพ โดยในแตละสูตรตํารับมักนําสมุนไพรบางชนิดที่ไมสามารถหาไดในทองถิ่นมาใชประกอบสูตร  ทําให
               ประชาชนกลุมผูปวยเขาถึงการดูแลโรคขอเขายากขึ้น  ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงเปนการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ
               พอกเขาดวยแนวคิดการพึงพาตนเอง เปนการลดตนทุน ลดการนําเขายา สรางอาชีพทําใหชุมชนมีสวนรวม

               เกิดนวัตกรรมที่เปนเอกลักษณเฉพาะ เปนประโยชนตอผูปวยโรคขอเขาเสื่อมตอไปในอนาคต

               วัตถุประสงค เพื่อพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑพอกเขาดูแลผูสูงอายุโรคขอเขาเสื่อมและศึกษาประสิทธิผล

               ผลิตภัณฑพอกเขา

               วิธีดําเนินการ งานวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ โดยใชวิธีการสรางนวัตกรรมผลิตภัณฑพอกเขาเลือกกลุม
               ตัวอยางผานการประเมินระดับความรุนแรงของโรคขอเขาเสื่อม (Oxford Knee Score) รวมถึงใชเกณฑคัดเขา

               คัดออกไดกลุมตัวอยางจํานวน 30 คน ที่อยูในเขต อ.ลาดบัวหลวง จ.พระนครศรีอยุธยา และเก็บขอมูล
               ประเมินดานระดับความปวด ระดับอาการขอผืด และระดับความสามารถในการใชงานขอ ตามแบบประเมิน
               Modified WOMAC หลังการพอกเขา 3 ครั้ง (3 วันตอ 1 ครั้ง)


               ผลการศึกษา พบวาหลังจากพอกเขา 3 ครั้ง มีคาเฉลี่ยของ WOMAC ดานระดับความปวด ครั้งที่ 1 เทากับ
               22.2 ครั้งที่ 2 เทากับ 13.3 และ 5.4 ในครั้งที่ 3 ตามลําดับ ดานระดับอาการขอผืด ครั้งที่ 1 เทากับ 8.6 ครั้งที่
               2 เทากับ 5.6 และ 2.8 ในครั้งที่ 3 ตามลําดับ และดานระดับความสามารถในการใชงานขอ ครั้งที่ 1 เทากับ
               66.9 ครั้งที่ 2 เทากับ ครั้งที่ 2 เทากับ 45.1 และ 22.4 ในครั้งที่ 3 ตามลําดับ พบวาระดับคะแนนความปวด

               WOMAC ลดลงในทุกมิติเมื่อเทียบกับเริ่มตนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p< 0.001)

               ขอสรุป ผูปวยโรคขอเขาเสื่อมที่ไดรับการพอกเขาดวยฟางขาวสามารถลดระดับคะแนน WOMAC ดานระดับ

               ความปวด ดานระดับอาการขอผืด และดานระดับความสามารถในการใชงานขอเขาอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ











                                                         127
   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134