Page 113 - journal-14-proceeding
P. 113

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14


                                   PPem9C  การพัฒนากระเปาประคบสมุนไพรรักษาอาการปวดหลังสวนลาง

                                   ดวยตนเอง


               ลัดดาวัลย  สมปนวัง
               โรงพยาบาลพญาเม็งราย จังหวัดเชียงราย

               หลักการและเหตุผล อาการปวดหลังสวนลางเปนปญหาสุขภาพที่สําคัญและพบมากปญหาหนึ่ง จากสถิติผูรับบริการคลินิก
               แพทยแผนไทยของโรงพยาบาลพญาเม็งราย ตั้งแตปงบประมาณ 2554 - 2558 พบวา จํานวนผูรับบริการที่ปวดหลังสวนลางมี

               จํานวนรอยละ 58 ของผูรับบริการการในคลินิกแพทยแผนไทยทั้งหมด  ซึ่งการรักษาอาการปวดหลังสวนลางตามแนวทาง
               การแพทยแผนไทยที่ผานมา ใชวิธีการนวด และประคบสมุนไพร ซึ่งวิธีการนวดใชเวลา 45 นาที ถึง 1 ชั่วโมงตอราย  การประคบ
               สมุนไพรใชเวลาการประคบสมุนไพร 15 - 20 นาทีตอราย สงผลใหผูรับบริการรอนาน เนื่องจากเจาหนาที่ของหนวยงานมีนอย

               ดังนั้นทางหนวยงาน จึงไดประดิษฐนวัตกรรมกระเปาประคบสมุนไพรรักษาอาการปวดหลังสวนลางดวยตนเอง เพื่อลดระยะเวลา
               รอรับบริการของผูรับบริการ  และลดการใชบุคลากรของหนวยงาน เนื่องจากผูรับบริการสามารถทําการประคบสมุนไพรดวย
               ตนเอง และเปนแนวทางในการรักษาแบบพึ่งพาตนเองในชุมชนตอไป

               วัตถุประสงคของการวิจัย 1)  เปรียบเทียบอาการปวดหลังสวนลางกอนและหลังใชกระเปาประคบสมุนไพรรักษาอาการปวดหลัง

               สวนลางดวยตนเอง   2) ศึกษาความพึงพอใจของผูมารับบริการตอการใชกระเปาประคบสมุนไพรรักษาอาการปวดหลังดวยตนเอง

               วิธีดําเนินการ  เปนการวิจัยและพัฒนา (Research and Development)  โดย กลุมตัวอยางของ  ผูรับบริการที่มีอาการปวดหลัง
               สวนลาง ที่ไดจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling)จํานวน 45 คน ตามคุณสมบัติที่ไดกําหนด โดยทําการประคบ

               กระเปาประคบสมุนไพรรักษาอาการปวดหลังดวยตนเอง เปนเวลา 20 นาที ตอครั้งตามมาตรฐานการประคบสมุนไพร ติดตอกัน
               เปนระยะเวลา 3 วัน มีการใชแบบประเมินมาตรวัดความปวด (Visual Analogs scale ) อาการปวดหลังสวนลาง กอนและหลังการ
               ใชกระเปาประคบสมุนไพร   แบบสอบถามความพึงพอใจตอการใชกระเปาประคบสมุนไพรรักษาอาการปวดหลังดวยตนเอง

               ผลการศึกษา พบวา กระเปาประคบสมุนไพรรักษาอาการปวดหลังสวนลาง ที่ผลิตจากผาดิบบางสีครีมธรรมชาติ  มีขนาดความ
               กวาง 26 เซนติเมตร ยาว 26 เซนติเมตร มีชองวาง 2 ชอง ซาย ขวา สําหรับใสถุงสมุนไพร ตามสูตร(กรมการแพทยแผนไทยและ
               การแพทยทางเลือก,2547) เพิ่มกะลามะพราวที่ผาซีกแหง 4 ชิ้นมีสายเย็บติด 2 ขาง ซาย ขวา สําหรับจับเพื่อที่จะใหผูใชสามารถ
               ชวยเหลือตนเองได บรรจุถุงสมุนไพรแหง จํานวน 2  ถุง บรรจุ ถุงละ 350  กรัม ใกลเคียงกับลูกประคบแบบเดิม โดยกระเปา
               ประคบสมุนไพรรักษาอาการปวดหลังสวนลาง ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2 พบวา ผลการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของคะแนนระดับอาการ

               ปวดหลังสวนลาง (Visual Analogs scale) ของผูมารับบริการคลินิกแพทยแผนไทย (n = 45) พบวา กอนใชมีคาเฉลี่ย (  ̅) = 5.67
               และหลังการใชมีคาเฉลี่ย (  ̅) = 2.62 แสดงวาระดับอาการปวดหลังสวนลาง กอนและหลังใชกระเปาประคบสมุนไพรรักษาอาการ

               ปวดหลังสวนลาง ทําใหอาการปวดหลังสวนลางลดลง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผูรับบริการ มีความพึงพอใจตอ
               การใชกระเปาประคบสมุนไพรรักษาอาการปวดหลังสวนลางดวยตนเอง จําแนกเปนรายดาน พบวา ดานประโยชน อยูระดับมาก
               ที่สุดมีคาเฉลี่ย (  ̅) = 4.56 รองลงมาดานรูปแบบและการใชงาน อยูระดับมากที่สุดมีคาเฉลี่ย (  ̅) = 4.52 และดานลักษณะทาง

               กายภาพมีคาเฉลี่ยนอยที่สุด ซึ่งอยูระดับมากมีคาเฉลี่ย (  ̅) = 4.43

               ขอสรุป การศึกษาครั้งนี้ พบวา แนวทางในการใหบริการโดยใชกระเปาประคบสมุนไพรลดอาการปวดหลังสวนลางดวยตนเอง ใน
               หนวยงานแพทยแผนไทยได ลดระยะเวลารอรับบริการของผูรับบริการและลดการใชบุคลากรของหนวยงาน ผูรับบริการสามารถ

               ทําการประคบสมุนไพรดวยตนเอง และเปนการรักษาแบบพึ่งพาตนเองได


                                                         111
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118