Page 192 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 192
J Thai Trad Alt Med Vol. 21 No. 3 Sep-Dec 2023 675
การวิจัยในหลอดทดลองพบว่ามีการต้านเชื้อจุลชีพ ฤดูกาล เป็นต้น
ต่าง ๆ เช่น Escherichia coli, Staphylococcus ดังนั้น การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการ
epidermidis, Staphylococcus aureus, Salmo- ชักน�าแคลลัสและการผลิตสาร Rosmarinic acid ของ
nella typhimurium, Salmonella abony, Proteus ปอบิด เพื่อเป็นแหล่งวัตถุดิบที่มีคุณภาพ ทดแทนแหล่ง
vulgaris, Micrococcus luteus, Aspergillus niger ที่ได้จากธรรมชาติเพื่อน�าไปพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์
[4-6]
และ Candida albican จากรายงานการศึกษาองค์ ต่าง ๆ เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจเชิงพาณิชย์ต่อไป
ประกอบทางเคมีของปอบิด พบว่า มีสารกลุ่ม glyco-
sides, phytosterol, saponins และ flavonoids ระเบียบวิธีศึกษำ
เช่น rosmarinic acid, 4’-O-β-D-glucopyranosyl-
rosmarinic acid, helisterculins A, helister- 1. วัสดุ
culin B, helisoringallic acid, coumaric acid, 1.1 พืชสมุนไพร
β-sitosterol, betulinic acid, oleanolic acid, ท�าการเก็บตัวอย่างต้นปอบิด Helicteres
daucosterol, cucurbitacin B, isocucurbitacin isora L. จากจังหวัดตาก ตัวอย่างดังกล่าวผ่านการ
B, sanguinarine, berberine chloride และ mus- พิสูจน์ชื่อทางวิทยาศาสตร์น�ามาเก็บไว้เป็นแหล่ง
cimol เป็นต้น [7-11] สาร rosmarinic acid (RA) ถูก อ้างอิงพรรณไม้ในห้องพิพิธภัณฑ์พืช ของกรม
[12]
น�ามาใช้ในอาหารและเครื่องส�าอาง มีการศึกษา วิทยาศาสตร์การแพทย์ รหัส DMSC 5270 น�าฝัก
[13]
ทางเภสัชวิทยาพบว่าช่วยต้านเชื้อไวรัส ต้านเชื้อ ปอบิดมาแยกเอาเมล็ดออก เมล็ดจะมีลักษณะสี
[14]
HIV-1 ต้านเชื้อแบคทีเรีย ต้านการอักเสบ และ น�้าตาล น�าเมล็ดที่ได้แช่น�้าทิ้งไว้ 1 คืน จากนั้นน�าไป
[15]
มะเร็ง เป็นต้น นอกจากนั้นมีผู้ศึกษาพบว่ามีฤทธิ์ เพาะลงในกระบะปลูก ต้นกล้าจะเริ่มงอกใช้ระยะ
ต่อต้านอนุมูลอิสระดีกว่าวิตามินอีหรืออนุพันธ์ของ เวลาประมาณ 3-4 เดือน จากนั้นน�าต้นกล้าไปปลูก
[16]
วิตามินอี (Trolox) แสดงให้เห็นว่าสารส�าคัญใน ลงในแปลงปลูกของสถาบันวิจัยสมุนไพร กรม
ปอบิดมีศักยภาพในการน�าไปใช้ประโยชน์ อย่างไร วิทยาศาสตร์การแพทย์ จังหวัดนนทบุรี (Figure
ก็ตามแหล่งวัตถุดิบที่ได้จากธรรมชาติอาจให้สาร 1) เมื่ออายุต้นได้ 3 เดือน ตัดส่วนตาข้างไปเพาะ
ส�าคัญที่ไม่สม�่าเสมอ จากปัจจัยทางด้านสายพันธุ์ เลี้ยงเนื้อเยื่อ และเมื่อต้นปอบิดอายุได้ 1 ปี 3 เดือน
สภาพภูมิอากาศ ลักษณะภูมิประเทศ รวมถึงวิธีการ เก็บส่วนฝักเพื่อใช้ในการตรวจหาปริมารสารส�าคัญ
ปลูก ท�าให้ได้วัตถุดิบมีสารส�าคัญต�่า การใช้วิธีทาง ต่อไป
ห้องปฏิบัติการด้วยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชในรูปของ 1.2 เครื่องมือ
แคลลัส (callus culture) นับว่าเป็นวิธีหนึ่งที่น่าสนใจ เครื่องชั่งไฟฟ้าความละเอียด 0.1-0.01
น�ามาใช้เป็นแหล่งผลิตสารทุติยภูมิทดแทนการสร้าง มิลลิกรัม (Sartorius รุ่น AX224) เครื่องวัดค่าความ
สารดังกล่าวที่ได้จากตามธรรมชาติ เทคนิคดังกล่าว เป็นกรด-ด่าง (GonDO รุ่น PL-700 PCS) เครื่องนึ่ง
สามารถควบคุมสภาวะในห้องทดลองได้ สามารถ ฆ่าเชื้อแบบออโตเคลฟ (Zealway รุ่น FD 80 R) ตู้
ผลิตสารได้ต่อเนื่องโดยไม่ขึ้นกับสภาพแวดล้อม ปราศจากเชื้อแบบ ClassII (BIOBASE รุ่น BSC-