Page 163 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 163
646 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2566
ผักปลังแดงมีค่า IC 50 เท่ากับ 7.22 ± 0.13 และ 7.67 ผักปลังขาวแบบสดประมาณ 3-6 เท่า เหมาะส�าหรับ
[20]
± 0.13 mg/mL ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาในครั้ง การน�าไปศึกษาต่อในอนาคต ดังนั้นจึงควรมีการ
นี้ที่พบว่าสารสกัดหยาบจากผักปลังขาวมีฤทธิ์ความ ศึกษาวิเคราะห์เพิ่มเติมเพื่อหาสารประกอบหลักหรือ
เป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งดีกว่าผักปลังแดง นอกจากนี้ สารประกอบบริสุทธิ์ที่ออกฤทธิ์ด้วยวิธีอื่น ๆ เช่น
มีการศึกษาฤทธิ์ต้านมะเร็งในสัตว์ทดลองของ Kilari VLC, CC และ HPLC เป็นต้นซึ่งสารประกอบหลัก
et al. (2016) พบว่าสารสกัดชั้นน�้าของผักปลังแดง หรือสารประกอบบริสุทธิ์ดังกล่าวอาจพบได้ในผักปลัง
สามารถยับยั้งการกระจายของมะเร็งล�าไส้ใหญ่ได้โดย แดงมากกว่าผักปลังขาว
[30]
การเหนี่ยวน�าให้เกิดการ apoptosis และการศึกษา
ของ Islam et al. (2018) ยังพบว่าสารสกัดชั้นน�้าจาก ข้อสรุป
ใบและเมล็ดของผักปลังขาวสามารถยับยั้งการเจริญ ผลการศึกษาในครั้งนี้สรุปได้ว่าผักปลังแดงแบบ
เติบโตของเซลล์มะเร็งตับชนิด Ehrlich ascites car- สดที่สกัดด้วยเอทานอลร้อยละ 95 และท�าการแยก
cinoma (EAC) cells มีร้อยละการยับยั้งเจริญเติบโต สกัดต่อด้วยคลอโรฟอร์มมีศักยภาพในการต้านเซลล์
[22]
ของเซลล์เท่ากับ 62.54 ± 2.41 และ 53.96 ± 2.34 มะเร็งโรคระบบทางเดินอาหารที่ดีที่สุด ในขณะที่สาร
ตามล�าดับ ผลการศึกษาในครั้งนี้มีค่า IC 50 ดีกว่า สกัดหยาบผักปลังขาวแบบสดที่สกัดด้วยเอทานอล
งานวิจัยก่อนหน้านี้อาจเป็นเพราะใช้ตัวท�าละลายชั้น ร้อยละ 95 มีศักยภาพในการต้านเซลล์มะเร็งในระบบ
เอทานอลซึ่งสามารถสกัดสารกลุ่มฟลาโวนอยด์ได้ ทางเดินอาหาร ได้แก่ มะเร็งช่องปาก, มะเร็งกระเพาะ
มากกว่าตัวท�าละลายชั้นน�้า นอกจากนี้ยังมีการ อาหาร, มะเร็งล�าไส้ใหญ่, มะเร็งตับและมะเร็งท่อน�้าดี
[31]
รายงานว่าผักปลังประกอบด้วยสารส�าคัญหลายชนิด ได้ดีกว่าสารสกัดหยาบผักปลังแดง โดยฤทธิ์ที่แตก
เช่น ฟีนอลิก ฟลาโวนอยด์ แคโรทีนอยด์ ซาโปนิน ต่างกันอาจเนื่องจากสารส�าคัญที่เป็นองค์ประกอบ
และอัลคาลอยด์ รวมถึงสารจ�าพวกไฟเบอร์ วิตามิน ดังนั้นจึงควรมีการศึกษาสารส�าคัญที่ออกฤทธิ์ ผล
[8-11]
เกลือแร่และกรดอมิโนที่จ�าเป็น ซึ่งมีหลายงานวิจัย การศึกษาในครั้งนี้สนับสนุนข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับ
ระบุว่าสารกลุ่มนี้มีความสอดคล้องกับฤทธิ์ต้านมะเร็ง ฤทธิ์ทางชีวภาพของผักปลังขาวและผักปลังแดง และ
ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และฤทธิ์ต้านการอักเสบ [8,12-18] สามารถน�าไปต่อยอดโดยการวิเคราะห์หาสารส�าคัญ
แต่เมื่อท�าการสกัดแยกด้วยวิธี partition extrac- การทดสอบในสัตว์ทดลอง และการทดสอบความเป็น
tion พบว่าสารสกัดหยาบผักปลังแดงแบบสดที่หมัก พิษเพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ในอนาคต
ด้วยเอทานอลร้อยละ 95 แล้วท�าการแยก fraction
ด้วยคลอโรฟอร์มมีศักยภาพในการต้านเซลล์มะเร็ง กิตติกรรมประก�ศ
ในระบบทางเดินอาหาร 4 ชนิด ได้แก่ เซลล์ KATO ขอขอบคุณคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย
III, SW480, LS 174T และ KKU-M156 ดีที่สุดซึ่ง ธรรมศาสตร์ที่ให้การสนับสนุนทุนวิจัย
มีศักยภาพมากกว่าสารสกัดหยาบชั้นเอทานอลของ