Page 148 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 148
364 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2566
รางจืดสดและแห้ง รวมถึงเปรียบเทียบชนิดของตัว ฟีนอลิกหลายชนิด ได้แก่ apigenin, gallic acid,
ท�าละลายที่ใช้ในการสกัดซึ่งยังไม่เคยมีรายงานวิจัย caffeic acid และ rosmarinic acid [7,18-19] ซึ่งมีฤทธิ์
มาก่อน ผลการศึกษาในครั้งนี้พบว่าสารสกัดจากใบ ยับยั้งเชื้อแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดสิวและยับยั้งไนตริก-
รางจืดสดชั้นเอทานอลให้ฤทธิ์การยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย ออกไซด์ [10,20-21] จากการทดลองครั้งนี้พบว่าใบรางจืด
และฤทธิ์ยับยั้งการหลั่งไนตริกออกไซด์ได้ดีที่สุดและ สดมีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อแบคทีเรียและยับยั้งไนตริกออก-
มีปริมาณสารฟลาโวนอยด์สูง จากรายงานการศึกษา ไซด์ดีกว่าใบรางจืดแห้ง อีกทั้งสารสกัดที่ได้จากการ
ก่อนหน้านี้ยังไม่พบการศึกษาฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย สกัดด้วยเอทานอลยังมีฤทธิ์ที่ดีกว่าสารสกัดที่ได้จาก
ทั้งสองชนิดของสารสกัดจากใบรางจืดสด แต่พบว่า การต้มน�้า ซึ่งอาจเกิดจากใบรางจืดสดที่สกัดด้วย
มีรายงานการศึกษาของใบรางจืดแห้งที่สกัดด้วย เอทานอลนั้นไม่มีการสัมผัสกับความร้อน ส่งผลให้สาร
เอทานอลและน�้า โดยพบว่าสารสกัดเอทานอลของใบ ส�าคัญที่ได้มีโอกาสสลายตัวได้น้อยกว่าเมื่อเทียบกับ
รางจืดแห้งมีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ S. aureus แต่ไม่สามารถ ใบรางจืดแห้งที่ต้องผ่านกระบวนการอบและการต้ม
ยับยั้งเชื้อ P. acnes (C. acnes) ในขณะที่สารสกัดน�้า น�้าที่ต้องผ่านการสัมผัสกับความร้อนสูง จากรายงาน
ของใบรางจืดแห้งไม่มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อทั้งสองชนิด [15] การศึกษาที่ผ่านมาพบว่าสาร rosmarinic acid จะมี
รายงานการศึกษาอื่นพบว่าสารสกัดเอทานอลของใบ การสลายตัวเมื่อสัมผัสกับอุณหภูมิ 100˚ซ เป็นเวลา
[16]
รางจืดแห้งไม่สามารถยับยั้งเชื้อทั้งสองชนิดได้ ซึ่ง 5 นาที และความร้อนจะท�าให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
คล้ายกับผลการศึกษาในครั้งนี้ แต่อย่างไรก็ตามใน โครงสร้างกลายเป็นสาร dihydroxyphenyllactic
การศึกษาครั้งนี้พบว่าสารสกัดน�้าของใบรางจืดแห้ง acid ดังนั้นการที่สารสกัดใบรางจืดสดที่สกัดด้วย
[22]
สามารถยับยั้ง C. acnes ได้ ซึ่งได้ผลที่แตกต่างจาก น�้าแม้จะมีปริมาณสารในกลุ่มฟีนอลิกสูงกว่าแต่กลับ
การศึกษาอื่น ๆ เหตุผลดังกล่าวอาจเกิดจากการเก็บ มีฤทธิ์ต�่ากว่าสารสกัดจากเอทานอล อาจเป็นเพราะ
สมุนไพรจากคนละแหล่งและคนละฤดูกาลส่งผลให้ โครงสร้างของสารที่มีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากความ
ปริมาณสารส�าคัญแตกต่างกันออกไปและท�าให้ได้ ร้อนส่งผลให้ฤทธิ์การต้านเชื้อแบคทีเรียและฤทธิ์ต้าน
[17]
ผลการศึกษาที่แตกต่างกัน อย่างไรก็ดีฤทธิ์ยับยั้ง การอักเสบเปลี่ยนแปลงไป
เชื้อแบคทีเรียและฤทธิ์ต้านการอักเสบในการศึกษา
ครั้งนี้ยังคงมีค่าต�่ากว่า positive control ซึ่งอาจเกิด ข้อสรุป
จากสารสกัดสมุนไพรประกอบด้วยสารส�าคัญหลาย จากการศึกษาสามารถสรุปได้ว่า ใบรางจืดสดมี
ชนิดส่งผลให้สารสกัดมีฤทธิ์ที่ต�่ากว่ายามาตรฐานที่ ฤทธิ์ยับยั้งเชื้อแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดสิวและฤทธิ์ยับยั้ง
ประกอบด้วยสารส�าคัญเพียงชนิดเดียว แต่เมื่อท�าการ ไนตริกออกไซด์ได้ดีกว่าใบรางจืดแห้ง และวิธีการสกัด
แยกสารส�าคัญจากสมุนไพรหลาย ๆ ชนิดและน�า ที่เหมาะสมคือการแช่สกัดในเอทานอลเพื่อให้ได้สาร
ไปทดสอบนั้นจะเห็นได้ว่าค่าการยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ สกัดที่มีประสิทธิภาพดี และเหมาะส�าหรับน�าไปพัฒนา
ของสารบริสุทธิ์ที่แยกได้จากสมุนไพรจะมีค่าการ เป็นผลิตภัณฑ์ที่ช่วยในการรักษาสิวต่อไป แต่อย่างไร
[8]
ยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ที่ดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ในกรณี ก็ตามการศึกษาผลข้างเคียงของสารสกัดดังกล่าวควร
ของใบรางจืดพบว่าประกอบด้วยสารส�าคัญในกลุ่ม ต้องมีการทดลองต่อไปในอนาคต