Page 143 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 143
J Thai Trad Alt Med Vol. 21 No. 2 May-Aug 2023 359
ถึงการเปรียบเทียบผลของใบรางจืดสดและใบรางจืด แบบสุญญากาศ ท�าซ�้าอีกสองครั้ง แล้วน�าไประเหย
แห้งและชนิดของตัวท�าละลายที่ใช้ในการสกัด เพื่อ ตัวท�าละลายออกจนแห้ง แล้วท�าการค�านวณร้อยละ
เป็นข้อมูลพื้นฐานและแนวทางในการน�ารางจืดไปใช้ ผลผลิตของสารสกัดที่ได้ หลังจากนั้นน�าสารสกัดที่
พัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับการรักษาสิวต่อไปใน ได้ทั้งหมดเก็บไว้ที่อุณหภูมิ -20˚ซ จนกว่าจะท�าไป
อนาคต ทดสอบ
2.2 การทดสอบฤทธิ์ต้านเชื้อจุลชีพ
ระเบียบวิธีศึกษ� เชื้อแบคที่เรียที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ C. acnes
DMST 14916 และ S. aureus ATCC 25923 โดย
1. วัสดุ เชื้อ C. acnes จะถูกเพาะเลี้ยงเชื้อในอาหาร Brain
ใบรางจืดถูกเก็บจากสวนสมุนไพร คณะ heart infusion agar และบ่มภายใต้สภาวะไร้
แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยใบ ออกซิเจนที่อุณหภูมิ 37˚ซ เป็นเวลา 72 ชั่วโมง ใน
รางจืดจะถูกน�าไปตรวจสอบเทียบสายพันธุ์และขอเลข ขณะที่เชื้อ S. aureus จะถูกเพาะเลี้ยงในอาหาร Nu-
อ้างอิงจากพิพิธภัณฑ์พืชสิรินธร กรมวิชาการเกษตร trient Agar และน�าไปบ่มที่อุณหภูมิ 37˚ซ เป็นเวลา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์โดยมีเลขอ้างอิงคือ BK 24 ชั่วโมง หลังจากนั้นน�ามาทดสอบโดยใช้เทคนิค
No. 083537 Broth microdilution assay โดยจะเริ่มต้นจาก
[11]
การเจือจางสารสกัดที่ต้องการทดสอบที่ความเข้มข้น
2. วิธีก�รศึกษ� ต่าง ๆ ด้วยวิธีการเจือจางแบบสองเท่าโดยสารสกัด
2.1 การสกัดสาร จะถูกทดสอบที่ความเข้มข้นสูงสุดคือ 5 มิลลิกรัม
น�าสมุนไพรมาล้างท�าความสะอาดและผึ่งให้แห้ง ต่อมิลลิลิตร แล้วท�าการเพาะเลี้ยงเชื้อแบคทีเรียใน
จากนั้นแบ่งสมุนไพรออกเป็นสองส่วน โดยส่วนแรก อาหารเหลว ปรับความขุ่นของเชื้อให้มีค่าเท่ากับ 0.5
จะน�าไปสกัดแบบสด และส่วนที่สองน�าไปอบแห้งที่ McFarland จากนั้นเติมสารสกัดที่ความเข้มข้นต่าง ๆ
อุณหภูมิ 45˚ซ เป็นเวลา 48 ชั่วโมงและน�าไปสกัด และเชื้อที่ปรับความขุ่นไว้แล้วลงในเพลทในปริมาตร
ในรูปแบบของใบแห้ง การสกัดจะแบ่งเป็นสองวิธีคือ 50 ไมโครลิตรต่อหลุมแล้วน�าไปบ่มที่อุณหภูมิ 37˚ซ
การต้มน�้าและการแช่สกัดด้วย 95% เอทานอล โดย โดยเชื้อ C. acnes จะถูกบ่มเป็นเวลา 72 ชั่วโมงภาย
วิธีที่หนึ่งคือการต้มน�้าจะเริ่มจากการน�าสมุนไพรไป ใต้สภาวะไร้ออกซิเจน ในขณะที่เชื้อ S. aureus จะถูก
ต้มกับน�้าให้เดือด 15 นาที แล้วกรองเอาแต่น�้า ท�าเช่น บ่มในสภาวะที่มีออกซิเจนเป็นเวลา 24 ชั่วโมง เมื่อครบ
นี้ซ�้าอีกสองครั้ง จากนั้นน�าน�้าที่กรองได้ทั้งสามครั้งมา เวลาให้ท�าการเติม resazurin ลงไป 10 ไมโครลิตรต่อ
ต้มเคี่ยวให้เหลือหนึ่งในสามส่วน แล้วน�าไปท�าให้แห้ง หลุม และท�าการบ่มต่อเป็นเวลา 3 ชั่วโมง แล้วอ่านผล
ด้วยเครื่องท�าแห้งแบบแช่เยือกแข็ง ส่วนวิธีที่สองคือ โดยการสังเกตการเปลี่ยนสีของ resazurin ซึ่งความ
การน�าสมุนไพรไปแช่สกัดด้วย 95% เอทานอลเป็น เข้มข้นต�่าสุดที่ยับยั้งเชื้อได้หรือค่า MIC คือความเข้ม
เวลา 3 วัน หลังจากนั้นท�าการกรอง แล้วน�าของเหลว ข้นที่ resazurin ไม่เปลี่ยนสี จากนั้นจึงน�าสารสกัดที่
ที่ได้ไประเหยตัวท�าละลายออกด้วยเครื่องระเหยแห้ง มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ มาท�าการเพาะ