Page 153 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 153

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 21  No. 2  May-Aug  2023  369




                    [4-5]
            มาไม่ปกติ  และยังเป็นสมุนไพรที่จัดอยู่ในบัญชียา  เวท การควบคุมคุณภาพของสมุนไพร สนับสนุนงาน
                                               [7]
            หลักแห่งชาติ กลุ่มยาแก้ไข้ ต�ารับยาเขียวหอม  พบ  บริการตรวจวิเคราะห์และการจัดท�าต�ารามาตรฐานยา
            การรายงานองค์ประกอบทางเคมีจากการสกัดน�้ามัน  สมุนไพรไทยเพื่อใช้ในการอ้างอิงต่อไปได้
            ระเหยง่าย (volatile oil) จากใบสันพร้าหอม และมี
            รายงานว่าเมื่อวิเคราะห์น�้ามันระเหยง่ายจากใบด้วยวิธี    ระเบียบวิธีศึกษำ

            แก๊สโครมาโทกราฟี (GC-MS) พบว่าองค์ประกอบทาง
            เคมีส่วนใหญ่เป็นกลุ่มเทอร์พีน และพบสาร Thymo-  1. วัสดุ
            hydroquinone dimethyl ether ปริมาณสูงที่สุด       1.1  ตัวอย่างสมุนไพร
                                                   [8]
            สามารถยับยั้งแบคทีเรีย  ส่วนการศึกษาตรวจสอบ      ตัวอย่างใบและล�าต้นสดสันพร้าหอม จ�านวน
                               [9]
            พิษเฉียบพลันในหนูถีบจักรโดยให้น�้ายาสกัดด้วยวิธี  1 ตัวอย่าง จากสวนสมุนไพรกรมวิทยาศาสตร์การ
            กรอกเข้าปากก็ไม่พบอาการที่ก่อให้เกิดพิษต่อสัตว์  แพทย์ จังหวัดนนทบุรี ที่ได้รับการตรวจระบุชนิด

            ทดลอง [10]                                  แล้วโดยนักพฤกษศาสตร์ (นายศักดิ์วิชัย อ่อนทอง)
                 เนื่องจากเป็นไม้ที่ปลูกกันบ้างตามบ้านและสวน  ห้องปฏิบัติการพิพิธภัณฑ์พืช สถาบันวิจัยสมุนไพร

            ยาจีน โดยใช้ใบรับประทานเป็นผักกับเครื่องจิ้ม [3,6]   จากนั้นแบ่งตัวอย่างส�าหรับศึกษาลักษณะทางมหภาค
            และมีสรรพคุณทางยาหลายส่วน จึงควรมีการศึกษา  ศึกษาลักษณะทางจุลภาค และจัดท�าตัวอย่างเครื่องยา
            ลักษณะทางเภสัชเวทไว้เพื่อให้มีข้อมูลในการใช้เครื่อง  สมุนไพรอ้างอิง

            ยาให้ถูกชนิด ถูกส่วน และทางสถาบันวิจัยสมุนไพร      1.2  สารเคมีและน�้ายา
            กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ได้เคยศึกษาลักษณะ         น�้ายา chloral hydrate, glycerine water และ

            ทางเภสัชเวทของสันพร้าหอมมาแล้ว โดยเผยแพร่ใน  น�้ากลั่น
            วารสารกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ปีที่ 21 ฉบับที่ 1      1.3  วัสดุและอุปกรณ์
            พ.ศ. 2522  ซึ่งน�าเสนอเป็นภาพถ่ายขาวด�าและภาพ     จานแก้ว ชามระเหย พู่กัน เบอร์ 4 ครกหิน/โกร่ง
                    [11]
            ไม่คมชัด รวมถึงข้อมูลยังไม่สมบูรณ์          บดยา ช้อนตักสาร เข็มเขี่ย ใบมีดไมโครโทม มีดผ่าตัด
                 การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา  แผ่นสไลด์ กระจกปิดสไลด์ ดินสอ rotring ขนาด 0.3
            ลักษณะทางมหภาค และลักษณะทางจุลภาคของใบ      มิลลิเมตร (ส�าหรับวาดภาพภายใต้กล้องจุลทรรศน์)

            และล�าต้นสันพร้าหอมอีกครั้ง เพื่อปรับปรุงข้อมูลให้  ปากกาเขียนแบบ ขนาด 0.1 มิลลิเมตร (ส�าหรับวาด
            ทันสมัยขึ้น โดยน�าเสนอเป็นภาพถ่ายสีและภาพวาด  ลงกระดาษไข) และกระดาษไข
            ภายใต้กล้องจุลทรรศน์โดยใช้ชุดวาดภาพที่ต่อกับ     1.4  เครื่องมือ

            กล้องจุลทรรศน์                                   เตาอบร้อน (รุ่น TS 8265 ยี่ห้อ Termarks)
                 จากการศึกษานี้จะท�าให้ได้ข้อมูลลักษณะทาง  เครื่องตัดเนื้อเยื่อแบบแช่แข็ง (รุ่น 7009105 ยี่ห้อ

            มหภาค และลักษณะจุลภาคของใบและล�าต้นสันพร้า  Yamato Koki) กล้องจุลทรรศน์แบบสามตาพร้อม
            หอมและตัวอย่างเครื่องยาสมุนไพรอ้างอิง สามารถน�า  ชุดถ่ายภาพและชุดวาดภาพ (รุ่น BX43-DP22 ยี่ห้อ
            ข้อมูลไปใช้ในการจัดท�าข้อก�าหนดมาตรฐานทางเภสัช  OLYMPUS) และไฟส่อง (ยี่ห้อ olympus)
   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158