Page 147 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 147

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 21  No. 2  May-Aug  2023  363




            Table 4  Antimicrobial activity of T. laurifolia extract
             Sample                           S. aureus                        C. acnes
                                        MIC             MBC             MIC             MBC
                                      (  µg/mL)        (µ/mL)         (µg/mL)          (µg/mL)

             TLFE                      5,000           5,000           312.5            312.5
             TLFW                      2,500           2,500            625             625
             TLDE                     > 5,000         > 5,000         > 5,000          > 5,000
             TLDW                     > 5,000         > 5,000           625             625
             Clindamycin               0.098            6.25           0.0225          0.0225




            4. ปริม�ณส�รฟีนอลิกในส�รสกัดใบร�งจืด                      อภิปร�ยผล
                 จากการวิเคราะห์ปริมาณสารฟีนอลิกในสาร        สิวเป็นโรคทางผิวหนังชนิดหนึ่งที่สามารถพบได้
            สกัดจากใบรางจืด เมื่อเปรียบเทียบวิธีการสกัดแบบ  บ่อยในทุกเพศ ทุกวัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงวัยรุ่น

            เดียวกันพบว่าสารสกัดใบรางจืดสดมีปริมาณสาร   ซึ่งการเกิดสิวมีด้วยกันหลายสาเหตุ ได้แก่ การแบ่ง
            ฟีนอลิกสูงกว่าใบรางจืดแห้ง โดยที่สารสกัดน�้าของใบ  ตัวที่ผิดปกติของผิวหนัง การสร้างไขมันมากขึ้นจาก

            รางจืดสดที่มีปริมาณสารฟีนอลิกสูงที่สุดคือ 187.56   ต่อมไขมัน หรือการติดเชื้อแบคทีเรียก่อสิว โดยเชื้อ
            ± 4.79 มิลลิกรัมของ gallic acid ต่อกรัมของสาร  จุลินทรีย์ที่เป็นสาเหตุส�าคัญในการเกิดสิว ได้แก่ Pro-
            สกัด รองลงมาคือสารสกัดเอทานอลของใบรางจืด    pionibacterium acnes ที่มีการผลิตเอนไซม์ที่ช่วย

            สดมีปริมาณฟีนอลิกเท่ากับ 99.85 ± 6.45 มิลลิกรัม  ย่อยสลายไขมันได้ โดยปัจจุบันแบคทีเรียชนิดนี้ได้ถูก
            ของ gallic acid ต่อกรัมของสารสกัด ในส่วนของใบ  เปลี่ยนชื่อเป็น Cutibacterium acnes เพื่อให้การจัด

            รางจืดแห้ง พบว่าสารสกัดน�้าของใบรางจืดแห้งมีค่า  จ�าแนกเชื้อชนิดนี้ตามหลักของอนุกรมวิธานมีความ
                                                                          [13]
            ปริมาณสารฟีนอลิกสูงกว่าสารสกัดเอทานอลของใบ  จ�าเพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น  นอกจากเชื้อ C. acnes ยัง
            รางจืดแห้ง โดยมีค่าเท่ากับ 82.45 ± 3.82 และ 65.67   มีเชื้อฉวยโอกาสชนิดอื่น ๆ ที่อยู่บนผิวหนังที่สามารถ

            ± 4.80 มิลลิกรัมของ gallic acid ต่อกรัมของสารสกัด  กระตุ้นการเกิดสิวได้ โดยปัจจัยกระตุ้นความรุนแรง
            ตามล�าดับ (Table 5)                         ของโรค คือ ความเครียด ฮอร์โมนและการติดเชื้อ
                                                        อื่น ๆ บริเวณผิวหนัง ท�าให้มีการอักเสบบริเวณนั้น ๆ
            Table 5  Total phenolic content in T. laurifolia extract   มากขึ้น [1-2,14]  จากสารานุกรมสมุนไพรไทย พบว่ารางจืด

             Sample           Total phenolic content    ทุกส่วนมีสรรพคุณในการลดการอักเสบภายนอก ลด
                        (mg gallic acid/gram of dried extract)
                                                                 [6]
                                                        ปวดบวมได้  การศึกษาในครั้งนี้ ได้ท�าการทดสอบ
             TLFE               99.85 ± 6.45            ฤทธิ์ยับยั้งเชื้อแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดสิวและฤทธิ์ยับยั้ง
             TLFW               187.56 ± 4.79
             TLDE               65.67 ± 4.80            สารในกระบวนการอักเสบคือไนตริกออกไซด์ของสาร
             TLDW               82.45 ± 3.82            สกัดจากใบรางจืด โดยท�าการเปรียบเทียบผลของใบ
   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152