Page 144 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 144

360 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 21  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2566




           เลี้ยงลงบนอาหารเลี้ยงเชื้อและบ่มที่อุณหภูมิที่สภาวะ  การยับยั้งในแต่ละความเข้มข้นแล้วน�าค่าที่ได้ไปหาค่า
           ที่เหมาะสมกับเชื้อดังกล่าวโดยค่าความเข้มข้นต�่าสุดที่  IC 50 โดยผลการทดลองจะถูกแสดงในรูปของค่าเฉลี่ย

           ฆ่าเชื้อได้ หรือค่า MBC คือความเข้มข้นต�่าสุดที่ไม่มี  ± ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
           การเจริญเติบโตของเชื้อ การทดสอบฤทธิ์ยับยั้งเชื้อจะ     2.4  การตรวจวัดปริมาณสารฟีนอลิก
           ใช้ยา clindamycin เป็น positive control         เตรียมสารสกัดรางจืดและสารมาตรฐาน gal-

                2.3  การทดสอบฤทธิ์ต้านการอักเสบด้วยการ  lic acid ที่ความเข้มข้น 1 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร จาก
           ศึกษาผลการยับยั้งการหลั่งไนตริกออกไซด์ [12]  นั้นจึงท�าการเจือจางสารสกัดให้มีความเข้มข้น 500
                การทดสอบฤทธิ์ต้านการอักเสบจะศึกษาการ   ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตรด้วยน�้า deionize water

           ยับยั้งไนตริกออกไซด์ในเซลล์แมคโครฟาจของหนู   ในขณะที่สารมาตรฐาน gallic acid จะถูกเจือจาง
           (RAW 264.7) โดยเซลล์จะถูกเพาะเลี้ยงในอาหาร   ให้มีความเข้มข้นเท่ากับ 100, 80, 40, 20 และ 5
           DMEM ที่มีการเติม 10% FBS, 50 IU/mL เพนนิ-   ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ท�าการปิเปตสารตัวอย่าง

           ซิลินและ 50 µg/mL สเตรปโตมัยซิน ท�าการเพาะ  และสารมาตรฐานใส่ลงใน 96 well plate ปริมาตร
           เลี้ยงในตู้บ่มเซลล์ที่อุณหภูมิ 37˚ซ ที่มีความเข้มข้น  20 ไมโครลิตรต่อหลุม แล้วท�าการเติมสาร Folin-

           คาร์บอนไดออกไซด์ 5% จากนั้นน�าไปทดสอบโดยใส่  Ciocalteu’s 100 ไมโครลิตรต่อหลุม และสารละลาย
           เซลล์ลงไปในเพลท 96 หลุมที่ความหนาแน่น 1 5 10 5   โซเดียมคาร์บอเนต ความเข้มข้น 0.7 โมลาร์ลงไป 80
           เซลล์/หลุม บ่มเป็นเวลา 24 ชั่วโมง จากนั้นดูดอาหาร  ไมโครลิตรต่อหลุม จากนั้นท�าการบ่มในที่มืดเป็นเวลา

           เก่าออก แล้วท�าการกระตุ้นเซลล์ให้เกิดการอักเสบ  30 นาทีแล้วน�าไปวัดค่าการดูดกลืนแสงที่ 765 นาโน
           ด้วยการเติม lipopolysaccharide จากนั้นเติมสาร  เมตร ท�าการค�านวณปริมาณสารฟีนอลิกในสารสกัด

           สกัดสมุนไพรลงไป บ่มต่อเป็นเวลา 24 ชั่วโมง เมื่อ  รางจืดโดยเทียบกับกราฟมาตรฐานของ gallic acid
           ครบตามเวลาที่ก�าหนดเซลล์ที่ผ่านการทดสอบกับ  และรายงานผลในหน่วย มิลลิกรัมของ gallic acid ต่อ
           สารสกัดจะน�าไปตรวจวัดการรอดชีวิตของเซลล์โดย  กรัมของสารสกัด โดยสารสกัดทั้งหมดจะถูกทดสอบ

           ใช้สาร MTT โดยสารสกัดที่ให้ผลการรอดชีวิตของ  ซ�้า 3 ครั้งและผลการทดลองจะถูกแสดงในรูปของค่า
           เซลล์ตั้งแต่ 70% ขึ้นไปจะถือว่าไม่มีความเป็นพิษต่อ  เฉลี่ย ± ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
           เซลล์ แต่หากสารสกัดใดส่งผลให้มีการรอดชีวิตของ

           เซลล์น้อยกว่า 70% สารสกัดนั้นจะไม่ถูกน�ามาตรวจ           ผลก�รศึกษ�
           วัดปริมาณไนตริกออกไซด์ ในส่วนของการตรวจ
           วัดปริมาณไนตริกออกไซด์ให้ท�าการน�าส่วนใสไป  1. ก�รสกัดส�รจ�กใบร�งจืดสดและแห้ง

           ตรวจวัดปริมาณไนตริกออกไซด์ โดยใช้สาร Griess      จากการน�าใบรางจืดสดและใบรางจืดแห้งมา
           reagent แล้วน�าไปวัดค่าการดูดกลืนแสงที่ 570 nm   ท�าการสกัดด้วยการต้มน�้าและการแช่สกัดใน 95%

           การทดสอบฤทธิ์ยับยั้งการหลั่งไนตริกออกไซด์จะใช้  เอทานอล พบว่าได้สารสกัดทั้งสิ้น 4 ชนิด ได้แก่ สาร
           ยา betamethasone เป็น positive control โดยสาร  สกัดเอทานอลของใบรางจืดสด (TLFE) สารสกัดน�้า
           ทั้งหมดจะถูกทดสอบซ�้า 3 ครั้งแล้วค�านวณค่าร้อยละ  ของใบรางจืดสด (TLFW) สารสกัดเอทานอลของใบ
   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149