Page 146 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 146

362 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 21  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2566




                จากการทดสอบฤทธิ์ยับยั้งไนตริกออกไซด์พบ  ไนตริกออกไซด์ได้โดยมีค่า IC 50 เท่ากับ 25.87 ± 6.59
           ว่ามีเพียงสารสกัดเอทานอลของใบรางจืดสด (TLFE)   ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ในขณะที่สารสกัดอื่น ๆ ไม่

           ที่สามารถยับยั้งการหลั่งไนตริกออกไซด์ได้ โดยมีค่า   พบฤทธิ์ยับยั้งการหลั่งไนตริกออกไซด์เมื่อทดสอบที่
           IC 50 เท่ากับ 50.17 ± 8.91 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร แต่  ความเข้มข้นสูงสุดคือ 100 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร
           ฤทธิ์การยับยั้งยังคงมีค่าน้อยกว่า Betamethasone   (Table 3)

           ซึ่งเป็นสาร positive control และสามารถยับยั้ง


           Table 3  Anti-inflammatory activity of nitric oxide releasing T. laurifolia extract

                                           Concentration      Percentage of           IC 50
            Sample
                                             (µg/mL)          inhibition effect     (µg/mL)
            TLFE                               100            73.01 ± 2.60        50.17 ± 8.91
                                               50             52.68 ± 9.68
                                               25             24.78 ± 3.43
                                              12.5            13.97 ± 4.27
            TLFW                               100             9.96 ± 5.46           > 100
            TLDE                               100            41.56 ± 8.09           > 100
            TLDW                               100            -3.99 ± 4.43           > 100
            Betamethasone                      100            63.53 ± 2.06        25.87 ± 6.59
                                               50             55.73 ± 2.74
                                               25             49.38 ± 1.27
                                              12.5            46.80 ± 3.02






           3. ฤทธิ์ก�รต้�นเชื้อจุลชีพ                  โดยมีค่า MIC เท่ากับ 5,000 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร

                จากการทดสอบฤทธิ์ต้านเชื้อจุลชีพของสารสกัด  ในขณะที่การยับยั้งเชื้อ C. acnes นั้นพบว่าสารสกัด

           จากใบรางจืดต่อการยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์สองชนิดคือ    เอทานอลของใบรางจืดสด (TLFE) มีฤทธิ์ดีที่สุด
           S. aureus และ C. acnes ผลที่ได้พบว่า สารสกัด  รองลงมาคือ สารสกัดน�้าของใบรางจืดสด (TLFW)
           เอทานอลและน�้าของใบรางจืดสดที่มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ  และสารสกัดน�้าของใบรางจืดแห้ง (TLDW) โดยมี

           ทั้งสองชนิดได้ดีกว่าสารสกัดเอทานอลและน�้าของใบ  ค่า MIC เท่ากับ 312.5, 625 และ 625 ไมโครกรัมต่อ
           รางจืดแห้ง โดยพบว่าสารสกัดน�้าของใบรางจืดสด   มิลลิลิตรตามล�าดับ แต่อย่างไรก็ตามสารสกัดทั้งหมด
           (TLFW) มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ S. aureus ได้ดีที่สุดโดยมี  ยังคงมีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อน้อยกว่า positive control คือ

           ค่า MIC เท่ากับ 2,500 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร รอง  Clindamycin (Table 4)
           ลงมาคือสารสกัดเอทานอลของใบรางจืดสด (TLFE)
   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151