Page 142 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 142

358 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 21  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2566




                    บทนำ�และวัตถุประสงค์               สมุนไพรที่น�ามาใช้ในการรักษา คือ รสขมเย็น รสเมา
                สิว เป็นโรคผิวหนังที่เกิดจากการอุดตันของต่อม  เบื่อ รสฝาด รสจืด เมื่อวิเคราะห์ พบว่ายารสเย็นมี

           ไขมันส่งผลให้เชื้อแบคทีเรีย Cutibacterium acnes   สรรพคุณแก้ความผิดปกติของเตโชธาตุ (ธาตุไฟ) ลด
           เจริญเติบโตขึ้นและกระตุ้นให้เกิดการอักเสบบริเวณรู  ความร้อน แก้ไข้และแก้การอักเสบของร่างกาย ซึ่งมี
           ขุมขนที่ผิวหนัง นอกจากนั้นบริเวณที่เป็นสิวยังพบการ  ความสอดคล้องกับพยาธิสภาพและลักษณะอาการ

           ติดเชื้อแบคทีเรียชนิดอื่น ๆ ได้แก่ Staphylococcus   ของโรค  โดยสมุนไพรที่นิยมน�ามาใช้ถอนพิษทั้งปวง
                                                             [5]
                                                [1]
           aureus และ Staphylococcus epidermidis  ที่  แก้ไข้ แก้อักเสบ และแก้ปวดบวมได้แก่ รางจืด ซึ่งมีชื่อ
           อาจท�าให้เกิดความรุนแรงของสิวและการอักเสบ   วิทยาศาสตร์คือ Thunbergia laurifolia Lindl. ซึ่ง
           มากขึ้นเนื่องจากเม็ดเลือดขาวจะสร้างสารที่กระตุ้น  มีสรรพคุณแก้ไข้ แก้อักเสบ แก้ปวดบวม ถอนพิษทั้ง
           กระบวนการอักเสบ เช่น ไนตริกออกไซด์, TNF-α,   ปวง[6] รางจืดประกอบด้วยสารส�าคัญในกลุ่มฟีนอลิก

                         [2]
                                                                                [7-8]
           IL-1, IL-6 เป็นต้น  ลักษณะทางคลินิกของสิว จะพบ  หลายชนิด เช่น rosmarinic acid  จากการศึกษาที่
           อาการบวม แดง อักเสบ มีแผลบริเวณผิวหนังหรือรูขุม  ผ่านมาพบว่าสารสกัดน�้าของใบรางจืดมีฤทธิ์ต้านการ
                                                                       [9]
           ขน โดยมักจะเป็นแผลประเภทตุ่มหนอง, ผื่นนูน, ตุ่ม  อักเสบในสัตว์ทดลอง  นอกจากนั้นสารสกัดเอทานอล
           นูนขนาดใหญ่ นอกจากนั้นหากสิวมีการอักเสบรุนแรง  ของใบรางจืดแห้งมีฤทธิ์ในการลดอาการอักเสบ
           จะท�าให้เกิดเป็น สิวหัวช้าง ซึ่งระดับความรุนแรงของ  บริเวณผิวหนังของกระต่ายที่มีการติดเชื้อ S. aureus

           สิวในแต่ละบุคคลมีความแตกต่างกัน ท�าให้ส่งผลกระ  โดยพบว่าครีมที่ผสมสารสกัดจากใบรางจืดช่วยยับยั้ง
           ทบต่อคุณภาพชีวิตทั้งด้านอารมณ์ จิตใจ และสังคม   การเจริญของเชื้อ ต้านอนุมูลอิสระและลดปริมาณ
           ท�าให้สูญเสียความมั่นใจในตนเอง เกิดความเครียด  ไซโตไคน์ที่กระตุ้นการอักเสบได้แก่ TGF-β, TNF-α

                      [3]
           และวิตกกังวล  การรักษาสิวในปัจจุบันจะมีการใช้ยา  และ IFN- γ [10]  และสามารถลดจ�านวนเชื้อแบคทีเรีย
                                                                  [9]
           หลายชนิดร่วมกัน เช่น ยาปฏิชีวนะ ยาในกลุ่มฮอร์โมน   S. aureus ได้  จากการทบทวนวรรณกรรมจะเห็น
           กรดซาลิไซลิก เป็นต้น นอกจากนั้นยังพบการใช้สาร  ได้ว่าส่วนที่ใช้เป็นยาของรางจืดคือใบ โดยลักษณะ

           จากธรรมชาติมาช่วยในการรักษาสิว เช่น น�้ามันจาก  ใบที่น�ามาใช้มีทั้งใช้แบบใบสดและแบบใบแห้งที่น�า
                 [1]
           ต้นทีทรี                                    มาคั้นน�้าหรือต้มน�้า นอกจากนั้นยังมีการใช้เอทานอล
                ตามหลักแนวคิดทางการแพทย์แผนไทย การ     เป็นตัวท�าละลายที่ใช้ในการสกัด อย่างไรก็ตามยัง
           เกิดการอักเสบบริเวณผิวหนัง มีสาเหตุจากกอง   ไม่มีรายงานการวิจัยที่เปรียบเทียบฤทธิ์ของใบรางจืด
           สมุฏฐานของธาตุไฟก�าเริบจากปัจจัยกระตุ้นทั้งภายใน  แบบสดและแบบแห้ง รวมถึงชนิดของตัวท�าละลายที่

           และภายนอกร่างกาย เช่น อาหาร อารมณ์ กิมิชาติ (เชื้อ  เหมาะสม
           โรค) เป็นต้น ท�าให้ความร้อนที่สะสมกระตุ้นธาตุลม     การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาฤทธิ์

           ให้ก�าเริบกระทบต่อธาตุน�้าและธาตุดินให้ เสียสมดุล   ต้านเชื้อแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดสิว ฤทธิ์ต้านการอักเสบ
           เป็นพิษต่อเลือดและน�้าเหลือง ส่งผลให้ผิวหนังเป็น  โดยศึกษาการยับยั้งการหลั่งไนตริกออกไซด์และ
           แผล บวม แดง มีผื่น และแสบคัน  ดังนั้นรสยาของ  ปริมาณสารฟีนอลิกของสารสกัดจากใบรางจืด รวม
                                     [4]
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147