Page 138 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 138

354 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 21  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2566




           พบว่า สารสกัดทั้งที่สกัดแบบ 10, 20 และ 30 นาที มี  poside ซึ่งมีฤทธิ์ในการเหนี่ยวน�า apoptosis ในเซลล์
           ผลลด cell viability เฉพาะกับเซลล์แมคโครฟาจ    ผลการศึกษาพบว่า น�้าแกงป่า น�้าแกงเลียง และน�้า

           โดยสารสกัดทั้ง 3 ชนิดสามารถลดการเพิ่มจ�านวน  แกงส้ม มีศักยภาพในการเหนี่ยวน�าให้เซลล์ตายแบบ
           เซลล์ (proliferation) ของเซลล์แมคโครฟาจ แต่  apoptosis ใกล้เคียงกัน คือ ร้อยละ 45 และไม่แตก
           เมื่อน�าไปศึกษาต่อเกี่ยวกับการเหนี่ยวน�านิวเคลียร์   ต่างกับการให้ยา etoposide และนอกจากนี้ยังพบว่า

           แฟคเตอร์ แคปป้าบี พบว่ามีแนวโน้มลดปริมาณของ   น�้าแกงเลียงเหนี่ยวน�าการตายแบบ apoptosis ได้สูง
           nf-kb pathway ซึ่งเป็นกลไกที่กระตุ้นการท�างาน  กว่า necrosis (การตายแบบมีการอักเสบของเซลล์
           ของการผลิตสารอักเสบที่หลั่งออกจากเซลล์แมคโคร  ปกติ) ถึง 15 เท่า ซึ่งดีกว่ายา etoposide ประมาณ

           ฟาจ โดยการศึกษานี้จะเห็นผลที่ชัดเจนในภาวะที่มี  2 เท่า ซึ่งข้อมูลดังกล่าวสามารถยืนยันประโยชน์ของ
           การกระตุ้นด้วย PamCys3 โดยเฉพาะสารสกัดที่   น�้าพริกแกงเลียงที่สามารถใช้เป็นข้อมูลส�าหรับต่อ
           30 นาที สามารถลดปริมาณของ nf-kb ในภาวะที่   ยอดการศึกษายารักษามะเร็งจากธรรมชาติ ที่ใช้รักษา

           ถูกกระตุ้นด้วย PamCys3 ได้ดีกว่าสารสกัดแบบ 10   มะเร็งผ่านกระบวนการ apoptosis ซึ่งเป็นวิธีที่มีผล
           และ 20 นาที และดีกว่าในภาวะเซลล์เปล่าที่เห็นผล  ข้างเคียงต่อผู้ป่วยน้อยที่สุดได้

           ดังกล่าวไม่ชัดเจน ซึ่งกลไกดังกล่าวนี้สนับสนุนฤทธิ์
           ต้านการอักเสบของสมุนไพรพริกไทยและหอมแดง                     ข้อสรุป
           ที่เป็นส่วนประกอบหลักของเครื่องแกงเลียง ซึ่งเห็น     การศึกษาครั้งนี้พบว่า สารสกัดเครื่องแกงเลียง

           ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับกลไกการออกฤทธิ์  ทั้งที่สกัดแบบ 10, 20 และ 30 นาที มีผลลดการมีชีวิต
           ต้านการอักเสบต่อไป                          ของเซลล์แมคโครฟาจ โดยสารสกัดทั้ง 3 ชนิดสามารถ

                ส�าหรับการศึกษาค้นคว้าโดยใช้เทคนิคทาง  ลดการเพิ่มจ�านวนเซลล์ (proliferation) ของเซลล์
           วิทยาศาสตร์เพื่อยืนยันถึงประโยชน์อื่น ๆ ของแกง  แมคโครฟาจ ส�าหรับการศึกษาต่อเกี่ยวกับการเหนี่ยว
           เลียง ก่อนหน้านี้พบว่ามีการศึกษาศักยภาพต้านมะเร็ง  น�านิวเคลียร์ แฟคเตอร์ แคปป้าบี พบว่ามีสารสกัด

           ของต�ารับอาหารไทย โดย ผศ.ดร.สมศรี เจริญเกียรติ  ที่ลดการท�างานของ nf-kb pathway ซึ่งเป็นกลไก
                                              [15]
           กุล จากสถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล  พบ  ที่กระตุ้นการท�างานของการผลิตสารอักเสบที่หลั่ง
           ว่า สารสกัดของน�้าพริกแกงป่า แกงเลียง และแกงส้ม   ออกจากเซลล์แมคโครฟาจ โดยการศึกษาจะเห็นผล

           ที่ความเข้มข้นที่ใช้ในการทดลองมีความสามารถใน  ที่ชัดเจนในภาวะที่มีการกระตุ้นด้วย PamCys3 ของ
           การก�าจัดอนุมูลอิสระได้เทียบเท่ากับ Beta Hydroxy   สารสกัดที่ 30 นาที ที่พบว่าสามารถลดการท�างานของ
           Acid (BHA) และการทดสอบโดยการเพาะเลี้ยงเซลล์  nf-kb ในภาวะที่ถูกกระตุ้นด้วย PamCys3 ได้ ซึ่ง

           มะเร็งเม็ดเลือดขาว Jurkat cells ด้วยอาหารเลี้ยง  กลไกนี้สนับสนุนฤทธิ์ต้านการอักเสบของสมุนไพรที่
           เซลล์ผสมน�้าแกง และเปรียบเทียบการตายของเซลล์  เป็นส่วนประกอบของเครื่องแกงเลียง เห็นควรมีการ

           แบบ apoptosis (การตายแบบธรรมชาติ) กับกลุ่ม  ศึกษาเพิ่มเติมเพื่อยืนยันผลในระดับสัตว์ทดลอง ฤทธิ์
           อาหารเลี้ยงเซลล์ปกติ (C-RPMI) และกลุ่มยา eto-  ทางเภสัชวิทยา และการศึกษาวิจัยในคนต่อไป
   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143