Page 215 - J Trad Med 21-1-2566
P. 215

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 1  Jan-Apr  2023  195




                           บทวิจำรณ์                    จุดฝังเข็มเพิ่มเติมให้เหมาะสมกับภาวะร่างกายของ
                 จากการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาโรคข้อ  ผู้ป่วย การฝังเข็มรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมนั้นนอกจากจะ

            เข่าเสื่อมด้วยการฝังเข็มและลนยาพบว่า กลุ่มอาการ  ช่วยรักษาอาการหลักของโรคแล้ว ในขณะเดียวกันก็
            ปวดมาจากลม ความเย็น ความชื้น โดยกลไกในการ   ยังช่วยปรับภาวะร่างกายของผู้ป่วยให้กลับคืนสู่ภาวะ
            เกิดโรคนั้นเกิดจากปัจจัยก่อโรคภายนอกได้แก่ ลม   สมดุล ซึ่งเป็นการช่วยเสริมประสิทธิผลของการรักษา

            ความเย็น และความชื้น แทรกซึมเข้ามาตามรูขุมขน   ให้ดียิ่งขึ้น โดยหลักฐานงานวิจัยที่ได้ศึกษาข้างต้นนั้น
            ผิวหนัง ลงสู่กล้ามเนื้อ เส้นเอ็นและกระดูก และยัง  สามารถน�าไปประยุกต์ใช้การฝังเข็มและลนยาควบคู่

            ไปอุดกั้นทางเดินของเส้นลมปราณและเส้นเลือดก่อ  ไปกับการรักษาด้วยใช้ยากลุ่ม NSAIDs การนวดทุย
            ให้เกิดภาวะลมปราณติดขัด เลือดคั่ง ซึ่งส่งผลต่อ  หนา การกระตุ้นไฟฟ้า โปรแกรมฝึกกายภาพบ�าบัด
            การไหลเวียนของลมปราณและเลือด ท�าให้ของเสีย  หรือการใช้ยาจีน จะเห็นได้ชัดว่าประสิทธิผลของการ

            ที่ตกค้างอยู่ภายใน ไม่สามารถระบายออกสู่ภายนอก  รักษาดีขึ้นอย่างมีนัยส�าคัญตามการข้อมูลจากงานวิจัย
            ได้ กล้ามเนื้อและเส้นเอ็นหดเกร็งและปวดเมื่อย การ

            เคลื่อนไหวของข้อต่อติดขัด เกิดอาการปวดเข่า การ              บทสรุป
            ฝังเข็มและลนยารักษาโรคข้อเข่าเสื่อมเป็นวิธีรักษา     การฝังเข็มและลนยานั้นเป็นศาสตร์การรักษา
            ที่มีประสิทธิผลสูงวิธีหนึ่ง การเลือกใช้จุดฝังเข็ม  ทางแพทย์แผนจีนที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณโดยมีการ

            ในการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมนั้นจะมุ่งเน้นไปที่จุด   พัฒนาส่งต่อมาสู่ยุคปัจจุบัน ในขณะเดียวกันก็ยังคง
            ฝังเข็มที่อยู่บนเส้นลมปราณบริเวณรอบข้อเข่าเป็นหลัก   มีการค้นคว้าวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้อย่างต่อเนื่อง
            เช่น จุดฝังเข็มที่อยู่บนเส้นลมปราณเท้าหยางหมิง   เพื่อให้มีความทันสมัย และสามารถน�าแนวทางการ

            กระเพาะอาหาร เส้นลมปราณเท้าไท่อินม้าม เส้น   รักษามาปรับใช้ให้เข้ากับองค์ความรู้ทางแพทย์แผน
            ลมปราณเท้าเส้าหยางถุงน�้าดี ซึ่งเป็นเส้นลมปราณ  ปัจจุบัน แนวทางการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมในประเทศ
            หลักที่ควบคุม เส้นเอ็น กระดูกและกล้ามเนื้อ โดยมี  จีนจะมีทั้งการร่วมรักษาระหว่างการให้ยาลดปวดกลุ่ม

            จุดหลักในการรักษาได้แก่ จุด Yinlingquan (SP9)   NSAIDs โปรแกรมฝึกกายภาพบ�าบัดของแพทย์แผน
            และ Xuehai (SP10) ที่อยู่บนเส้นลมปราณเท้าไท่  ปัจจุบันกับการฝังเข็มลนยาของแพทย์แผนจีน เพื่อ

            อินม้าม จุด Liangqiu (ST34), Dubi (ST35) และ   เพิ่มประสิทธิผลในการลดอาการปวด และการรักษา
            Zusanli (ST36) ที่อยู่บนเส้นลมปราณเท้าหยางหมิง   ด้วยการฝังเข็มลนยาเพียงอย่างเดียวซึ่งเป็นหนึ่งในวิธี
            กระเพาะอาหาร จุดYanglingquan (GB34) ที่อยู่บน  การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมโดยการไม่ใช้ยา ซึ่งสามารถ

            เส้นลมปราณเท้าเส้าหยางถุงน�้าดี และจุด Heding   ช่วยลดอาการปวด ชะลอการด�าเนินโรค ฟื้นฟูการ
            (EX-LE2), Neixiyan (EX-LE4) ที่เป็นจุดพิเศษบน  ท�างานของข้อเข่า โดยจุดที่มีความถี่ในการใช้ฝังเข็ม

            ขา เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนของลมปราณและเลือด  รักษาข้อเข่าเสื่อมมากที่สุดได้แก่ Zusanli (ST36),
            ตามเส้นลมปราณซึ่งเป็นสาเหตุหลักที่ท�าให้เกิดอาการ  Yanglingquan (GB34), Yinlingquan (SP9), Hed-
            ปวด นอกจากนี้แพทย์แผนจีนยังใช้หลักการจ�าแนก  ing (EX-LE2), Neixiyan (EX-LE4), Dubi (ST35),

            กลุ่มอาการและการวินิจฉัยโรค เพื่อพิจารณาเลือกใช้  Liangqiu (ST34), Xuehai (SP10) เป็นต้น จะเห็น
   210   211   212   213   214   215   216   217   218   219   220