Page 212 - J Trad Med 21-1-2566
P. 212

192 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2566




           และ IGF-I ซึ่งเป็นปัจจัยส�าคัญที่ช่วยกระตุ้นฟื้นฟู     4.4  ฟื้นฟูระบบไหลเวียนเลือด
                           [20]
           ซ่อมแซมกระดูกอ่อน  ช่วยเพิ่มปริมาณ type II col-     จากองค์ความรู้ทางการแพทย์ปัจจุบันค้นพบว่า
           lagen ใน matrix ซึ่งมีบทบาทในการช่วยควบคุมการ  การเสื่อมของข้อเข่านั้นมีความเกี่ยวข้องกับระบบไหล
                                                               [26]
           เสื่อมสลายของเซลล์ แต่ทว่าบางครั้งในกรณีที่ปริมาณ   เวียนเลือด  ซึ่งจากบทความงานวิจัยทางคลินิกค้น
           TGF-b1 และ IGF-I [20-21]  ถูกหลั่งออกมามากจนเกินไป  พบว่า การฝังเข็มสามารถช่วยกระตุ้นการไหลเวียน

           ก็สามารถส่งผลเสียได้เช่นกัน เช่น ท�าให้พื้นผิวกระดูก  เลือด ลดอาการหดเกร็งของหลอดเลือด และยังช่วย
           อ่อนเกิดการเปลี่ยนแปลงจนมีแคลเซียมเกาะ หรือ  เพิ่มการไหลเวียนของเลือดในบริเวณที่เลือดไหลเวียน
           กระดูกงอก ซึ่งท�าให้เกิดความเสียหายภายในข้อเข่าได้   ไม่เพียงพอหรือขาดเลือด เพื่อบ�ารุงหล่อเลี้ยงกระดูก

           นอกจากนี้ TGF-b1 และ IGF-I ยังมีส่วนช่วยควบคุม   อ่อนได้ [27]
           cytokines ที่ก่อให้เกิดการอักเสบได้แก่ IL-1, IL-6,
           NO เป็นต้น  และคณะใช้การฝังเข็มและลนยารักษา  5. กำรเลือกใช้จุดฝังเข็ม
                    [22]
           ข้อเข่าเสื่อมในกระต่ายทดลองโดยติดตามปริมาณสาร      การเลือกใช้จุดฝังเข็มในการรักษาโรคข้อเข่า
           TGF-b1 และ IGF-I หลังการรักษา จากการศึกษาพบ  เสื่อมนั้น จากข้อมูลเชิงสถิติงานวิจัยทางคลินิกและ

                                                                        [28]
           ว่าการฝังเข็มและลนยามีส่วนช่วยควบคุมปริมาณ  ต�าราฝังเข็มที่เกี่ยวข้อง  จะมุ่งเน้นไปที่จุดฝังเข็มที่
           สาร TGF-b1 และ IGF-I ให้อยู่ในจุดที่สมดุล ไม่มาก  อยู่บนเส้นลมปราณบริเวณรอบ ๆ ข้อเข่าเป็นหลัก เช่น
           ไปหรือน้อยไปซึ่งส่งผลดีต่อการซ่อมแซมและฟื้นฟู  จุดฝังเข็มที่อยู่บนเส้นลมปราณเท้าหยางหมิงกระเพาะ

           กระดูกอ่อนในข้อเข่า                         อาหาร เส้นลมปราณเท้าไท่อินม้าม เส้นลมปราณเท้า
                4.3  ระงับอาการปวด                     เส้าหยางถุงน�้าดี เป็นต้น โดยก�าหนดเป็นจุดหลักใน

                ในปัจจุบันจากการศึกษาวิจัยค้นพบว่า การฝัง  การรักษาได้แก่ จุด Zusanli (ST36), Yanglingquan
           เข็มสามารถกระตุ้นร่างกายให้หลั่งสารสื่อประสาท  (GB34), Yinlingquan (SP9), Heding (EX-LE2),
           ที่มีส่วนช่วยลดอาการปวดได้แก่ endogenous    Neixiyan (EX-LE4), Dubi (ST35), Liangqiu

                                           [23]
           opioids, acetylcholine และ serotonin  เป็นต้น   (ST34), Xuehai (SP10) เป็นต้น นอกจากนี้ทางแพทย์
           โดยเฉพาะ endogenous opioids ซึ่งประกอบไป    แผนจีนยังใช้หลักการจ�าแนกกลุ่มอาการและการ
           ด้วย b-endorphin, enkephalin และ dynorphin   วินิจฉัยโรค เพื่อพิจารณาเลือกใช้จุดฝังเข็มเพิ่มเติม

           เป็นต้น กระจายตัวอยู่ในสมองและไขสันหลัง โดยมี  ให้เหมาะสมกับภาวะร่างกายของผู้ป่วย โดยก�าหนด
           ประสิทธิผลในการระงับปวดสูง  และนอกจากนี้ยังมี  เป็นจุดเสริมในการรักษาเป็นการผสมผสานระหว่าง
                                  [24]
           บทความวิจัยบางส่วนที่ได้พิสูจน์ว่าการฝังเข็มสามารถ  จุดใกล้-ไกล

                                                                               [28]
           กระตุ้นให้ร่างกายเพิ่มการสร้าง hyaluronic acid ใน     หยางเฮอเลี่ยง และคณะ  ได้ท�าการ Data
                        [25]
           น�้าไขในข้อเข่าได้  ซึ่ง hyaluronic acid ในน�้าไขข้อ  analysis ผ่าน Apriori algorithm,Cluster analy-
           มีหน้าที่ส�าคัญในการหล่อลื่นข้อเข่า เพื่อลดการเสียดสี  sis, Factor analysis จากบทความวิจัยปี ค.ศ.
           และแรงกระแทก ป้องกันความเสียหายของกระดูก    2014-2019 ทั้งหมด 190 บทความ ชุดข้อมูลจุดฝัง
           อ่อนลดการอักเสบภายในข้อเข่าลงได้            เข็มทั้งหมด 228 ชุด จุดฝังเข็มที่ใช้ทั้งหมด 65 จุด
   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216   217