Page 220 - J Trad Med 21-1-2566
P. 220
200 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2566
มากเกินไปท�าให้เยื่อบุที่อวัยวะต่าง ๆ มีความไวต่อ แพทย์แผนปัจจุบันและแผนกแพทย์แผนไทยด้วย
สิ่งกระตุ้นและเกิดการตอบสนองที่มากผิดปกติของ อาการภูมิแพ้ผิวหนังเป็นจ�านวนมากขึ้นในช่วงระยะ
อวัยวะนั้น สาเหตุอาจเกิดจากปัจจัยทางพันธุกรรม เวลา 6 ปี ระหว่างปี พ.ศ. 2555–2560 ผู้ป่วยมีมัก
และสิ่งแวดล้อม ซึ่งสารก่อภูมิแพ้อาจเข้าสู่ร่างกายทาง อาการเป็น ๆ หาย ๆ ต้องมารับการรักษาบ่อยครั้งด้วย
ระบบหายใจ การรับประทานอาหาร การสัมผัสทางตา อาการเดิม ซึ่งตามศาสตร์การแพทย์แผนไทยเชื่อว่า
[1]
ทางหู หรือทางจมูก อีกทั้งอาจเกิดจากการได้รับบาด โรคภูมิแพ้ มีสาเหตุจากความไม่สมดุลกันของธาตุ
เจ็บ การติดเชื้อของผิวหนังหรือทางเดินหายใจที่ท�าให้ ทั้ง 4 ในร่างกาย เป็นกลุ่มโรคที่มีอาการเรื้อรัง อาการ
อาการก�าเริบขึ้นได้ [2] เป็น ๆ หาย ๆ รักษาให้หายขาดได้ยาก เรียกว่า
จากสถานการณ์ของโรคภูมิแพ้ทั่วโลกแนว อสาทิยะอชินชวร คือโรคที่ท�าให้มีอาการอยู่เป็น
โน้มเพิ่มสูงขึ้น ในประเทศไทยมีอัตราผู้ป่วยโรค ระยะ ๆ รักษาเท่าไหร่ก็ไม่หายขาด และอาการมักจะ
ภูมิแพ้เพิ่มขึ้นประมาณ 3-4 เท่า ซึ่งถ้าแยกเฉพาะ ก�าเริบด้วยการรับประทานทานอาหารไม่ถูกกับธาตุ
กลุ่มผู้ป่วยโรคผื่นผิวหนังอักเสบจากภูมิแพ้ได้ (อชินธาตุ) และรับประทานยาที่ไม่ตรงกับอาการที่เป็น
ร้อยละ 15 และในเด็กไทยอายุ 6-7 ปีและ 13-14 ปี หรือไม่ถูกกับร่างกาย (อชินโรค) พิจารณาสาเหตุได้
[1]
ในเขตกรุงเทพมหานคร พบความชุกของโรค atopic จากธาตุพิการ เกิดจากระบบการท�างานของร่างกาย
dermatitis ร้อยละ 15.4 และ 14.0 ตามล�าดับ และ ท�างานได้ไม่ดี ท�าให้เกิดความผิดปกติขึ้นได้ หรือ
[3]
โรคดังกล่าวสามารถเกิดได้ตั้งแต่เด็กจนถึงวัยผู้ใหญ่ การมีพิษสะสมอยู่ในร่างกายจ�านวนมากไม่สามารถ
โดยจะมีความแตกต่างกันดังนี้ คือ ถ้าเป็นวัยเด็ก ขับออกได้หมด เช่น การรับประทานอาหารแสลงกับ
เริ่มแสดงอาการตั้งแต่ช่วงอายุหลัง 2 ปี จนถึงวัยรุ่น ธาตุตัวเองมากเกินไป นอนพักผ่อนไม่เพียงพอ ภาวะ
มักเป็นผื่นหรือตุ่มแห้งหนา พบที่ข้อพับแขนและขา ความเครียดกังวล การท�างานในสภาพแวดล้อมที่มีฝุ่น
[5]
ซอกคอด้านหลัง แขน หรือขา ใต้แก้มก้น ข้อมือ ข้อ ควัน สารพิษบ่อย ๆ เป็นต้น ที่แผนกแพทย์แผนไทย
เท้า เปลือกตา รอบหู ส่วนวัยผู้ใหญ่เริ่มแสดงอาการ มีต�ารับยาช่วยรักษาอาการภูมิแพ้ผิวหนังได้ ประกอบ
ตั้งแต่ในช่วงวัยรุ่นต่อเนื่องจนถึงวัยผู้ใหญ่ ลักษณะ ด้วยตัวยา 3 ชนิดคือ เหงือกปลาหมอ (ทั้งต้น) เมล็ด
ผื่นคล้ายกับในช่วงวัยเด็กคือผื่นแห้งหนา มีขุยหรือ พริกไทยด�า และขิง ในอัตราส่วน 4:2:1 ต้นเหงือก
สะเก็ด บริเวณข้อพับแขนและขา ใบหน้า ระหว่าง ปลาหมอมีสรรพคุณแก้โรคผิวหนัง น�้าเหลืองเสีย [6]
คิ้ว ศีรษะ รอบคอ หลังแขน ขา นิ้วมือ และนิ้วเท้า เมล็ดพริกไทยด�ามีสรรพคุณบ�ารุงธาตุ แก้สรรพลม
ส�าหรับแนวทางการรักษาจะมีการใช้ยารับประทาน ทั้งปวง ขิง มีสรรพคุณแก้อากาศธาตุ ต�ารับนี้มีการ
[7]
[8]
[4]
และยาทา เป็นกลุ่มต้านการอักเสบ ซึ่งกลุ่มยาดัง ใช้ในโรงพยาบาลอู่ทอง เพื่อรักษาโรคภูมิแพ้ผิวหนัง
กล่าวมีผลข้างเคียงของยาในการรักษาและมีค่าใช้ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 แต่ยังไม่มีการรวบรวมข้อมูลอย่าง
จ่ายในการรักษาค่อนข้างสูง จึงอาจใช้สมุนไพรที่ เป็นระบบ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความ
สามารถหาได้ในประเทศมารักษาผื่นคันทดแทน ใน ปลอดภัยและผลการรักษาเบื้องต้นของต�ารับยาเหงือก
โรงพยาบาลอู่ทองมีผู้ป่วยที่มารับการรักษาทั้งแผนก ปลาหมอ-พริกไทยในผู้ป่วยโรคภูมิแพ้ผิวหนัง