Page 213 - J Trad Med 21-1-2566
P. 213

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 1  Jan-Apr  2023  193




            และความถี่ในการเลือกใช้จุดทั้งหมด 1,736 ครั้ง   รักษาผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมจ�านวน 72 ราย กลุ่ม
            ผลการวิเคราะห์ที่ได้ จุดที่มีความถี่ในการใช้ฝังเข็ม  ทดลองใช้จุด Yanglingquan (GB34), Yinlingquan

            รักษาข้อเข่าเสื่อมมากที่สุดได้แก่ Zusanli (ST 36),   (SP9), Neixiyan (EX-LE4), Dubi (ST35) และ
            Yanglingquan (GB34), Yinlingquan (SP9) , Hed-  Ah shi กลุ่มเปรียบเทียบได้รับยา Celecoxib วันละ
            ing (EX-LE2), Neixiyan (EX-LE4), Dubi (ST35),   200 mg หลัง 2 สัปดาห์ ใช้เครื่องมือ Laser speckle

            Liangqiu (ST34), Xuehai (SP10) ตามล�าดับ เส้น  imaging ตรวจวัดประสิทธิภาพการไหลเวียนเลือด
            ลมปราณที่ถูกเลือกใช้บ่อย ได้แก่ เส้นลมปราณเท้า  บริเวณข้อเข่าพบว่า
            หยางหมิงกระเพาะอาหาร เส้นลมปราณเท้าไท่อินม้าม      ทั้งสองกลุ่มการทดลองก่อนและหลังการรักษา

            เส้นลมปราณเท้าเส้าหยางถุงน�้าดี ตามล�าดับ จุดที่มี  มีการไหลเวียนเลือดบริเวณข้อเข่าเพิ่มขึ้นโดยมีนัย
            ความถี่ในเลือกใช้ตั้งแต่บริเวณ Lower limbs ลงไป   ส�าคัญทางสถิติ p < 0.05 และเมื่อเปรียบเทียบการไหล
            สูงถึง 16,268 ครั้ง (ร้อยละ 93.66)          เวียนเลือดระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มเปรียบเทียบ

                                [29]
                 หลี่หงเทาและคณะ  ได้รักษาผู้ป่วยข้อเข่า  พบว่า ทั้งสองกลุ่มไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยส�าคัญ
            เสื่อมระยะต้นและกลางทั้งหมด 80 ราย แบ่งเป็น กลุ่ม  ทางสถิติ p > 0.05 และจากแบบประเมิน WOMAC

            ทดลองจ�านวน 40 ราย ได้รับการฝังเข็มและลนยา จุด   และVisual Analogue Scale ทั้งสองกลุ่มมีค่าลด
            Zusanli (ST 36), Yanglingquan (GB34), Xuehai   ลง โดยไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ
            (SP10), Liangqiu (ST34), Neixiyan (EX-LE4),   p > 0.05 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการฝังเข็มและลนยาให้

            Dubi (ST35) Xuanzhong (GB39)  ฝังเข็มครั้งละ   ประสิทธิผลการรักษาข้อเข่าเสื่อมที่ดีเมื่อเทียบกับการ
            30 นาที วันละ 1 ครั้ง ติดต่อกัน 6 วัน พัก 1 วัน ร่วม  ใช้ยา celecoxib

                                                                         [31]
            กับการฝังเข็ม Fu’s Subcutaneous Needling  กลุ่ม     ซุนยวี้ชุนเหยียน  ศึกษาประสิทธิผลการฝัง
            เปรียบเทียบจ�านวน 40 ราย ได้รับต�ารับยาจีน “จินกู่  เข็มระหว่าง การฝังเข็มแบบตื้นกับการฝังเข็มแบบ
            เหลียนเจียวหนาง’’ ร่วมกับ Celecoxib หลังการ  ลึก รักษาผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมจ�านวน 60 ราย โดย

            รักษา 3 สัปดาห์ พบว่า แบบประเมิน Lysholm knee   ทั้ง 2 กลุ่ม ใช้จุด He ding (EX-LE2), Nei xi yan
            scoring scale กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่า  (EX-LE4), Du bi (ST35) Xue hai (SP10), Liang
            กลุ่มเปรียบเทียบ และแบบประเมิน WOMAC กลุ่ม  qiu (ST34), Yin ling quan (SP9), Yang ling quan

            ทดลองมีคะแนนเฉลี่ยน้อยกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ โดย  (GB34), Zu san li (ST 36), San yin jiao (SP6),
            มีนัยส�าคัญทางสถิติ ที่ p < 0.05 กลุ่มทดลองและกลุ่ม  Xuan zhong (GB39) และ Tai xi (KI3) หลังการ
            เปรียบเทียบมีประสิทธิผลการรักษาที่ร้อยละ 95.0   รักษาพบว่ากลุ่มทดลอง (กลุ่มฝังเข็มลึก) และกลุ่ม

            และ 87.5 ตามล�าดับ โดยสองกลุ่มมีความแตกต่าง  เปรียบเทียบ (กลุ่มฝังเข็มตื้น) มีประสิทธิผลการรักษา
            อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ p < 0.05        ร้อยละ 96.67 และ 83.33 ตามล�าดับ ซึ่งมีความแตก

                                 [30]
                 เฮ่อเหวินหัวและคณะ  ศึกษาประสิทธิผลการ  ต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ  p < 0.05
                                                                     [32]
            ฝังเข็มลนยาเปรียบเทียบกับการใช้ยา Celecoxib      ว่านเผิงเฟย  ได้ฝังเข็มและลนยารักษาโรคข้อ
   208   209   210   211   212   213   214   215   216   217   218