Page 209 - J Trad Med 21-1-2566
P. 209

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 1  Jan-Apr  2023  189




            ชีปาหรืออายุ 56 ปีในเพศชาย และชีชีหรืออายุ 49 ปี  อยู่ภายใน ไม่สามารถระบายออกสู่ภายนอกได้ ส่งผล
            ในเพศหญิง ร่างกายและอวัยวะภายในเริ่มเสื่อมถอย   ให้กล้ามเนื้อและเส้นเอ็นหดเกร็งและปวดเมื่อย การ

            ตับและไตอ่อนแอ สารจิง ชี่ และเลือดพร่อง’’ ในคัมภีร์  เคลื่อนไหวของข้อต่อติดขัด เกิดอาการปวดเข่า ดังค�า
                             [8]
            เกาหยาจุนเซิงเฉวียนซู  ได้กล่าวถึง “อาการปวดเข่า  พูดในคัมภีร์โบราณแพทย์แผนจีนที่กล่าวว่า “อาการ
            เกี่ยวข้องกับสามอวัยวะภายในที่เกิดความเสื่อมถอย   ปวดที่เกิดจากการไหลเวียนติดขัด’’ [10]

            ได้แก่ ตับ ไต และม้าม’’ ซึ่งในมุมมองทางแพทย์แผน     โดยทั่วไปกลไกการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อม สามารถ
            จีนตามทฤษฎีปัญจธาตุในหมวดเนื้อเยื่อ ตับท�าหน้าที่  เกิดขึ้นได้จาก 2 ปัจจัยหลักพร้อมกัน ไม่ว่าจะเป็น
            ก�าหนดเส้นเอ็นโดยอาศัยเลือดมาหล่อเลี้ยง ไตท�า  ปัจจัยภายในที่เกิดจากความเสื่อมของร่างกาย และ

            หน้าที่ก�าหนดกระดูกโดยอาศัยสารจิงและน�้าไขข้อ  ปัจจัยภายนอกที่เกิดจากลม ความเย็น ความชื้น ซึ่ง
            มาหล่อเลี้ยง และม้ามท�าหน้าที่ก�าหนดกล้ามเนื้อโดย  เรียกรวมกันว่า “ภาวะแกร่งนอกพร่องใน’’ เพราะ
            อาศัยสารจ�าเป็นมาหล่อเลี้ยง ซึ่งจะเห็นได้ว่าปัจจัย  ฉะนั้นหลักการรักษาที่ส�าคัญในมุมมองทางแพทย์

            ภายในที่เกิดจากสามอวัยวะภายในหลักได้แก่ ตับ ไต   แผนจีนก็คือ การบ�ารุงตับ ไต และเสริมม้าม การบ�ารุง
            และม้ามอ่อนแอ ส่งผลท�าให้กระดูก เส้นเอ็นและกล้าม  ชี่และเลือด พร้อมกับกระตุ้นการไหลเวียนของชี่และ

            เนื้อขาดการบ�ารุงหล่อเลี้ยงที่เหมาะสม จึงท�าให้กระดูก  เลือด เป็นการท�าให้เส้นเอ็น กระดูก และกล้ามเนื้อ
            เปราะบาง เส้นเอ็นหย่อน และกล้ามเนื้ออ่อนแรง ซึ่ง  ได้รับการบ�ารุงฟื้นฟูอย่างเหมาะสม ในขณะเดียวกัน
            เป็นปัจจัยหลักจากความเสื่อมของร่างกายที่ท�าให้เกิด  ก็ใช้การระบายลม ขับความเย็น และความชื้น เพื่อ

                     [9]
            ข้อเข่าเสื่อม  ดังค�าพูดในคัมภีร์โบราณแพทย์แผนจีน  เป็นการขจัดปัจจัยก่อโรคภายนอกและของเสียที่คั่ง
            ที่กล่าวว่า “อาการปวดที่เกิดจากขาดการบ�ารุงหล่อ  ค้างอยู่ภายในร่างกายตามเส้นเอ็น กระดูก และกล้าม

            เลี้ยง’’ และในสมัยโบราณจนถึงปัจจุบันแพทย์แผน  เนื้อ เป็นการรักษาและดูแลแบบผสมผสาน โดยใช้การ
            จีนได้ให้ความส�าคัญในการระวังป้องกัน ลม ความเย็น   บ�ารุงจากภายในและระบายสู่ภายนอก เพื่อลดปวด
            และความชื้นเป็นอย่างยิ่ง เพราะมองว่าเป็นปัจจัยก่อ  ฟื้นฟูข้อเข่า เพื่อให้ภาวะร่างกายกลับสู่ภาวะสมดุล [11]

            โรคภายนอกที่มากระทบร่างกาย ท�าให้เกิดกลุ่มอาการ
            ปวดตามข้อต่อ โดยเฉพาะโรคข้อเข่าเสื่อม ซึ่งปรากฏ  2. กำรจ�ำแนกควำมรุนแรงและระยะข้อเข่ำ
            เป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ตามที่คัมภีร์หวงตี้เน่ยจิง   เสื่อม

                    [8]
            ภาคซู่เวิ่น  ได้กล่าวไว้ว่า “กลุ่มอาการปี้เจิ้งทั้งหลาย     2.1  การจ�าแนกกลุ่มอาการและหลักการรักษา
            ล้วนมาจากลม ความเย็น ความชื้น’’ โดยกลไกใน   ข้อเข่าเสื่อมตามศาสตร์แพทย์แผนจีน  สามารถ
                                                                                       [12]
            การเกิดโรคนั้นเกิดจาก ปัจจัยก่อโรคภายนอก ได้แก่   แบ่งเป็น 5 กลุ่มอาการ ดังนี้ (1) กลุ่มอาการชี่ติดขัด

            ลม ความเย็น และความชื้น แทรกซึมเข้ามาตามรูขุม  และเลือดคั่ง อาการหลัก: รู้สึกปวดเหมือนถูกเข็ม
            ขน ผิวหนัง ลงสู่กล้ามเนื้อ เส้นเอ็นและกระดูก และ  ทิ่มแทงหรือปวดตึงแน่นที่บริเวณข้อเข่า ปวดตลอด

            ยังไปอุดกั้นทางเดินของเส้นลมปราณและเส้นเลือด  เวลาและปวดขณะพัก เหยียดงอเข่าติดขัด ข้อฝืด
            ก่อให้เกิด ภาวะชี่ติดขัดเลือดคั่ง ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อ  แข็ง ความคล่องตัวลดลง อาการรอง: สีหน้าหมองคล�้า
            การไหลเวียนของชี่และเลือด ท�าให้ของเสียที่ตกค้าง  หม่นหมอง ลักษณะลิ้นและชีพจร: ลิ้นสีม่วงคล�้า หรือ
   204   205   206   207   208   209   210   211   212   213   214