Page 200 - J Trad Med 21-1-2566
P. 200
180 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2566
เนื้อห�ที่ทบทวน ตารางที่ 2 วงศ์พืชสมุนไพรจากตำารับยาสมุนไพรรักษา
โรคผิวหนังที่พบมากที่สุด 5 ลำาดับแรก
1. ตำ�รับย�สมุนไพรที่ใช้รักษ�โรคผิวหนัง วงศ์พืชสมุนไพร จำานวน ร้อยละ
พบงานวิจัยที่เกี่ยวกับต�ารับยาสมุนไพรที่ใช้ Leguminosae 14 5.34
รักษาโรคผิวหนังทั้งหมดจ�านวน 46 บทความ ผ่าน Rubiaceae 12 4.58
Euphorbiaceae 11 4.20
เกณฑ์คัดเข้าและคัดออกทั้งหมด 12 บทความ
Acanthaceae 9 3.44
สามารถรวบรวมต�ารับยาสมุนไพรรักษาโรคผิวหนัง
Moraceae 8 3.05
ได้ทั้งหมดจ�านวน 133 ต�ารับ มีสมุนไพร จ�านวนทั้ง
สิ้น 262 ชนิด จากต�ารับยารักษาโรคผิวหนังทั้ง 133
ต�ารับ พบว่า วิธีการใช้ที่มากที่สุดคือการทา 72 ต�ารับ 2.2 ค่าความถี่ในการใช้พืชสมุนไพร
(54.13%) การกิน 41 ต�ารับ (30.83%) การอาบ 14 จากสมุนไพรจ�านวน 262 ชนิด พบว่า
ต�ารับ (10.53%) การพ่น 3 ต�ารับ (2.26%) การแช่ 1 สมุนไพรที่มีความถี่ของการรักษาโรคผิวหนังที่พบมาก
ต�ารับ (0.75%) การพอก 1 ต�ารับ (0.75%) และการ ที่สุด คือ ข้าวเย็นเหนือ (Smilax cerbularia subsp.
ล้างแผล 1 ต�ารับ (0.75%) (ตารางที่ 1) corbularia) 4.20 รองลงมา คือ ชุมเห็ดเทศ (Cassia
alata (L.) Roxb.) 3.82 และ ทองพันชั่ง (Rhinacan-
ตารางที่ 1 วิธีการใช้ตำารับยาสมุนไพรรักษาโรคผิวหนัง thus nasutus (L.) Kurz) งา (Sesamum indicum
วิธีการใช้ จำานวน ร้อยละ L.) ข้าวเย็นใต้ (Smilax glabra Roxb.) 3.44 (ตาราง
ที่ 3)
การทา 72 54.13
การกิน 41 30.83
การอาบ 14 10.53 ตารางที่ 3 พืชสมุนไพรที่มีความถี่ในการใช้รักษาโรค
การพ่น 3 2.26 ผิวหนังสูงที่สุด 5 ลำาดับแรก
การแช่ 1 0.75
การพอก 1 0.75 ชื่อสมุนไพร ค่าความถี่ในการใช้
การล้างแผล 1 0.75 (ชื่อวิทยาศาสตร์) พืชสมุนไพร (FR)
ข้าวเย็นเหนือ 4.20
(Smilax cerbularia subsp.
2. ข้อมูลก�รใช้สมุนไพรของตำ�รับย�สมุนไพรที่ corbularia)
ใช้รักษ�โรคผิวหนัง ชุมเห็ดเทศ 3.82
(Cassia alata (L.) Roxb.)
2.1 วงศ์พืช
ทองพันชั่ง 3.44
จากสมุนไพรจ�านวน 262 ชนิด พบว่า อยู่ในวงศ์ (Rhinacanthus nasutus
ที่พบมากที่สุด คือ Leguminosae 14 ชนิด (5.34%) (L.) Kurz)
รองลงมา คือ Rubiaceae 12 ชนิด (4.58%) และ งา (Sesamum indicum L.) 3.44
ข้าวเย็นใต้ (Smilax glabra Roxb.) 3.44
Euphorbiaceae 11 ชนิด (4.20%) (ตารางที่ 2)