Page 198 - J Trad Med 21-1-2566
P. 198

178 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2566




           ขั้นตอนในก�รสืบค้นข้อมูล (search strategy)  ความตรงของเนื้อหา (content validity) จ�านวนทั้ง

                ฐานข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ถูกคัดเลือก  สิ้น 20 ค�า แบ่งเป็นค�าค้นหาภาษาไทย 10 ค�า ได้แก่
           แบบจ�าเพาะเจาะจง (purposive sampling) โดยมี  การรักษาโรคในชุมชน, ต�ารับยา, ต�ารับยารักษาโรค
           เกณฑ์คัดเลือกดังต่อไปนี้                    ผิวหนัง, ต�ารับยาสมุนไพร, ต�ารับยาสมุนไพรรักษาโรค

                1. ฐานข้อมูลที่เป็นที่ยอมรับในระดับชาติและ  ผิวหนัง, ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย, ภูมิปัญญา
           ระดับนานาชาติ                               พื้นบ้าน, โรคผิวหนัง, สมุนไพรรักษาโรคผิวหนัง,
                2. ฐานข้อมูลที่มีวารสารทางวิชาการเผยแพร่  หมอพื้นบ้าน และในฐานข้อมูลระดับนานาชาติใช้

           ผลงานวิจัยเกี่ยวกับการรักษาโรคผิวหนังด้วยต�ารับ  key words ในการสืบค้น 10 ค�า ได้แก่ folk healer,
           ยาสมุนไพรไทย                                herbal formula, herbal medicine, medicinal
                โดยในการศึกษาครั้งนี้ได้ฐานข้อมูลวิจัยที่ตรง  formulary, medicinal plant formulas, skin

           กับการคัดเข้าจ�านวน 4 ฐานข้อมูล ได้แก่ Thailis,   disease, herb doctor, herbal ingredients,
           Thaijo, Pubmed, Sciencedirect ท�าการสืบค้นใน  alternative treatment, treat skin disease

           ระยะเวลา 10 ปี ย้อนหลัง (ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2554 ถึง ปี   ก�รคัดเลือกง�นวิจัยเพื่อนำ�ม�ทบทวน (study
           พ.ศ. 2564)
                                                       selection)

           กำ�หนดคำ�ค้นที่ใช้ฐ�นข้อมูล (key words)     บทความวิจัยที่ได้จากการสืบค้นจะถูกน�ามาคัดเลือก

                การค้นหางานวิจัยที่เกี่ยวข้องในการศึกษาครั้ง  เพื่อน�าไปวิเคราะห์ข้อมูลโดยการคัดเลือกแบบจ�าเพาะ

           นี้ได้มีขั้นตอนในการก�าหนดค�าค้นในฐานข้อมูลดังต่อ  เจาะจงซึ่งมีเกณฑ์คัดเลือกดังต่อไปนี้
           ไปนี้                                           1.  เกณฑ์การคัดเข้า (inclusion criteria)
                1. ผู้วิจัยศึกษาเอกสารเกี่ยวกับงานวิจัยรักษา       1) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับต�ารับยาสมุนไพรที่

           โรคผิวหนังของภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย        ใช้รักษาโรคผิวหนังของภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย
                2. รวบรวมค�าส�าคัญที่ใช้ในการสืบค้น        2. เกณฑ์คัดออก (exclusion criteria)
                3. ทดสอบความตรงของเนื้อหา (content va-       1) ไม่ใช่รายงานการวิจัยฉบับเต็ม หรือ

           lidity) โดยการน�าค�าที่ใช้ในการสืบค้นทั้งหมด เสนอ   บทความเข้าถึงเฉพาะบทคัดย่อ
           ผู้เชี่ยวชาญจ�านวน 3 ท่าน เพื่อตรวจสอบความตรง       2) งานวิจัยเป็นภาษาอื่นที่ไม่ใช่ภาษาไทยและ
           ตามเนื้อหา โดยตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสม     ภาษาอังกฤษ

           ของภาษา ความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และความ        3) เป็นงานวิจัยที่ได้จากการศึกษาภูมิปัญญา
           ครอบคลุมของเนื้อหา จากนั้นน�าผลมาพิจารณาหา  ต่างประเทศ

           ค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item Objective        4) เป็นงานวิจัยที่มีไสยศาสตร์และความเชื่อ
           Congruence: IOC ) ซึ่งต้องมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ        5) เป็นงานวิจัยที่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
           0.5 จึงจะน�าค�าสืบค้นนั้นไปใช้                    6) เป็นงานวิจัยที่ไม่สามารถดาวน์โหลดออก

                4. ในการศึกษาครั้งนี้มีค�าค้นหาที่ผ่านทดสอบ  จากฐานข้อมูลได้
   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203