Page 203 - J Trad Med 21-1-2566
P. 203

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 1  Jan-Apr  2023  183




            สามารถดูดซึมยาได้โดยตรง ส่งผลให้ยาออกฤทธิ์ได้  สมุนไพรที่น�ามาใช้มากที่สุด เนื่องจากรากเป็นส่วนของ
                                       [6]
            ดีและมีประสิทธิผลในการรักษาโรค  ซึ่งไม่สอดคล้อง  พืชที่มีการสะสมของสารส�าคัญต่าง ๆ มาก จึงนิยมน�า
                                        [7]
            กับการศึกษาของชินพัฒน์ เฉริมรัมย์  ที่ท�าการศึกษา  มาใช้ สอดคล้องกับการศึกษาของบุญเรือง วงอนันท์,
                                                                                         [13]
            หลักการใช้สมุนไพรในคัมภีร์วิถีกุฏโรค ที่พบว่าวิธีการ  เรือน สมณะ และประชุมพร เลาห์ประเสริฐ  พบว่า
            ใช้ยาที่พบมากที่สุดคือการกิน (47%) รองลงมาคือการ  รากเป็นส่วนของพืชที่มีการน�ามาใช้ประกอบเป็นยา

            ทา (39%) และการอาบ (5%) การพอก (5%) การรม   สมุนไพรมากที่สุด รสยาที่พบมากที่สุด คือ ฝาด 34
            (2%) และการเป่า (2%) ทั้งนี้น่าจะเกิดจากในคัมภีร์วิถี  ชนิด (10.03%) รองลงมา คือ เมาเบื่อ 23 ชนิด (8.81%)
            กุฏโรค สาเหตุของโรคส่วนใหญ่เกิดจากความผิดปกติ  และ ขม 21 ชนิด (8.05%) ซึ่งสอดคล้องกับหลักการ

            ของธาตุภายในร่างกาย การใช้ยากินจึงพบมากกว่าการ  ของรสยาสมุนไพร กล่าวคือ ตามสรรพคุณของรสยา
            ใช้ยาทา  ดังนั้นการใช้ยารักษาโรคผิวหนังโดยเฉพาะ  9 รส อธิบายไว้ว่า รสฝาดมีฤทธิ์ในการสมาน จึงเหมาะ
                  [8]
            ที่มีสาเหตุมาจากธาตุภายในร่างกายที่ไม่สมดุล จึงควร  ส�าหรับบาดแผลที่เกิดบริเวณผิวหนัง และรสเมาเบื่อ

            มีการใช้ควบคู่กันระหว่างยากินและยาทาเพื่อให้เกิด  มีสรรพคุณในการแก้น�้าเหลืองเสียซึ่งโรคผิวหนังบาง
                                                                                [14]
            ผลสูงสุด                                    ชนิดเป็นแผลเรื้อรังรักษาไม่หาย
                     จากต�ารับยาสมุนไพรรักษาโรคผิวหนัง จ�านวน       ภาพรวมของโครงสร้างต�ารับยารักษาโรค
            133 ต�ารับ มีสมุนไพรทั้งสิ้น 262 ชนิด โดยสมุนไพร  ผิวหนัง จะนิยมใช้สมุนไพรรสฝาดมากที่สุด รองลง
            ส่วนใหญ่อยู่ในวงศ์ Leguminosae จ�านวน 14    มาเป็นสมุนไพรรสเมาเบื่อ ซึ่งสอดคล้องกับหลักการ

            ชนิด ซึ่งสอดคล้องกับ วิญญู วงศ์วิวัฒน์ และชฎาพร    ของรสยาตามหลักการของแพทย์แผนไทย กล่าวคือ
                      [9]
            เกลี้ยงจันทร์  พบว่า วงศ์ของพืชสมุนไพรที่น�ามา  สรรพคุณของรสฝาดคือช่วยสมาน โดยกลไกการ
            ประกอบต�ารับยารักษาโรคสะเก็ดเงินมากที่สุด 3   ออกฤทธิ์นั้นรสฝาดจะเข้าไปจับกับเสมหะท�าให้เสมหะ
                                                                                   [15]
            อันดับแรก คือ วงศ์ Apiaceae Acanthaceae และ   งวดลงเป็นเม็ดเล็ก ๆ กระจายตัว  ซึ่งอาการของ
            Leguminosae โดยสมุนไพรที่มีค่าความถี่ในการใช้  โรคผิวหนัง  มักอยู่ในรูปของบาดแผลที่มีน�้าเลือด

            มากที่สุดคือ ข้าวเย็นเหนือ (4.02) อธิบายได้ว่า ข้าว  น�้าเหลืองหรือของเสียสะสมอยู่ ดังนั้นการใช้รสฝาด
            เย็นเหนือมีฤทธิ์ต้านการอักเสบ (anti–inflammatory   เข้าไปรักษาจึงมีผลท�าให้น�้าเลือดน�้าเหลืองแห้งลง
            activity) [10-11]  สอดคล้องกับการศึกษาของ Inamul-  ส่วนในด้านรสเมาเบื่อมีสรรพคุณเด่นในเรื่องของการ

                    [12]
            lah Khan  ที่ท�าการทดลองใช้สารสกัดข้าวเย็นเหนือ  แก้พิษ คือการเข้ากระท�าเหมือนน�าพิษไปสู้กับพิษ ซึ่ง
            ในการยับยั้งการอักเสบจากการบวมน�้าที่อุ้งเท้าหนูที่  พิษในที่นี้คือสิ่งที่กระท�าให้ร่างกายผิดปกติมักอยู่ใน
            เกิดจากคาราจีแนนได้อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (p   รูปเสมหะคือตะกรัน  ซึ่งน�้าเหลืองที่เกิดจากบาดแผล
                                                                       [15]
            < 0.05) และสอดคล้องกับการศึกษาของ ชินพัฒน์    เรื้อรัง ก็ถือว่าเป็นรูปแบบตะกรันชนิดหนึ่ง การใช้รส
            เฉริมรัมย์  พบว่า จากการวิเคราะห์ค่าความถี่ในการ  ยาเมาเบื่อจึงมีผลท�าให้การขับออกของตะกรัน (พิษ)
                    [7]
            ใช้พืช สมุนไพร (FR) พบว่า ข้าวเย็นเหนือ และข้าวเย็น  มากยิ่งขึ้น จึงท�าให้บาดแผลของโรคผิวหนังต่าง ๆ
            ใต้ มีค่า FR สูงที่สุด เท่ากับ 4.36 รากเป็นส่วนของพืช  เหล่านั้นหายเร็วยิ่งขึ้น
   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208