Page 201 - J Trad Med 21-1-2566
P. 201
J Thai Trad Alt Med Vol. 21 No. 1 Jan-Apr 2023 181
2.3 ส่วนที่ใช้ 3. โครงสร้�งตำ�รับย�รักษ�โรคผิวหนังต�มกลุ่ม
จากสมุนไพรจ�านวน 262 ชนิด พบว่า ส่วน อ�ก�รต�มง�นวิจัยของอรทัย เนียมสุวรรณ
ที่ใช้พบมากที่สุด ราก 79 ชนิด (30.15%) รองลงมา คือ และคณะ [5]
ใบ 54 ชนิด (20.61%) และ ทั้งต้น 39 ชนิด (14.89%) 3.1 กลุ่มอาการติดเชื้อรา
(ตารางที่ 4) จากการศึกษาต�ารับยาสมุนไพรรักษาโรค
กลุ่มอาการติดเชื้อราทั้ง 10 ต�ารับ พบว่า สามารถ
ตารางที่ 4 ส่วนที่ใช้ของพืชสมุนไพรจากตำารับยา จ�าแนกสมุนไพรออกได้จ�านวน 7 กลุ่มรส โดยจะมี
สมุนไพรรักษาโรคผิวหนังที่พบมากที่สุด 5 การใช้สมุนไพรที่มีรสฝาดมากที่สุด เช่น จันทน์เทศ
ลำาดับแรก
ตาเสือ รองลงมาจะเป็นรสเมาเบื่อ เช่น ทองพันชั่ง
ส่วนที่ใช้ จำานวน ร้อยละ กระเบาใหญ่ นอกจากนี้บางต�ารับยังใช้รสเปรี้ยวร่วม
ราก 79 30.15 ด้วย เช่น มะนาว
ใบ 54 20.61 3.2 กลุ่มอาการติดเชื้อไวรัส
ทั้งต้น 39 14.89 จากการศึกษาต�ารับยาสมุนไพรรักษาโรค
เหง้า 15 5.73
ผล 15 5.73 กลุ่มอาการติดไวรัสทั้ง 25 ต�ารับ พบว่า สามารถ
จ�าแนกสมุนไพรออกได้จ�านวน 8 กลุ่มรส โดยจะมี
การใช้สมุนไพรที่มีรสฝาดมากที่สุด เช่น ผักปลาบ
2.4 รสยา หมากสง รองลงมาจะเป็นรสขม เช่น กระดอม หางปลา
จากสมุนไพรจ�านวน 262 ชนิด พบว่า รส ช่อน นอกจากนี้บางต�ารับยังใช้รสจืดร่วมด้วย เช่น
ยาที่พบมากที่สุด คือ ฝาด 34 ชนิด (12.98%) รองลง ต่อไส้
มา คือ เมาเบื่อ 23 ชนิด (8.78%) และ ขม 21 ชนิด 3.3 กลุ่มอาการติดเชื้อแบคทีเรีย
(8.02%) (ตารางที่ 5) จากการศึกษาต�ารับยาสมุนไพรรักษาโรค
กลุ่มอาการติดแบคทีเรียทั้ง 21 ต�ารับ พบว่า สามารถ
จ�าแนกสมุนไพรออกได้จ�านวน 5 กลุ่มรส โดยจะมีการ
ตารางที่ 5 รสยาของพืชสมุนไพรจากตำารับยาสมุนไพร ใช้สมุนไพรที่มีรสขมมากที่สุด เช่น กระทงลาย ฟัก
รักษาโรคผิวหนังที่พบมากที่สุด 5 ลำาดับแรก
รองลงมาจะเป็นรสฝาด เช่น มะเดื่อปล้อง นอกจาก
รสยา จำานวน ร้อยละ นี้บางต�ารับยังใช้รสเผ็ดร้อนร่วมด้วย เช่น ขิง ขมิ้นชัน
ฝาด 34 12.98 3.4 กลุ่มอาการติดเชื้อปรสิต
เมาเบื่อ 23 8.78 จากการศึกษาต�ารับยาสมุนไพรรักษาโรค
ขม 21 8.02 กลุ่มอาการติดปรสิตทั้ง 5 ต�ารับ พบว่า สามารถ
เผ็ดร้อน 15 5.73
หอมเย็น 13 4.96 จ�าแนกสมุนไพรออกได้จ�านวน 6 กลุ่มรส โดยจะมี
การใช้สมุนไพรที่มีรสฝาดมากที่สุด เช่น ก�ายาน จันทน์