Page 202 - J Trad Med 21-1-2566
P. 202

182 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2566




           เทศ  รองลงมาจะเป็นรสขม เช่น ขี้กาแดง ชุมเห็ด  6 กลุ่มรส โดยจะมีการใช้สมุนไพรที่มีรสเมาเบื่อมาก
           เทศ  นอกจากนี้บางต�ารับยังใช้รสเปรี้ยวร่วมด้วย เช่น   ที่สุด เช่น ทองพันชั่ง ขันทองพยาบาท  รองลงมาจะ

           มะนาว                                       เป็นรสเค็ม เช่น เหงือกปลาหมอ แสมทะเล   นอกจาก
                3.5  กลุ่มอาการภูมิแพ้                 นี้บางต�ารับยังใช้รสเปรี้ยวร่วมด้วย เช่น มะยม
                   จากการศึกษาต�ารับยาสมุนไพรรักษาโรค      3.9  กลุ่มอาการพิษจากสัตว์

           กลุ่มอาการภูมิแพ้ทั้ง 7 ต�ารับ พบว่า สามารถจ�าแนก        จากการศึกษาต�ารับยาสมุนไพรรักษาโรค
           สมุนไพรออกได้จ�านวน 6 กลุ่มรส โดยจะมีการใช้  กลุ่มอาการพิษจากสัตว์ ทั้ง 2 ต�ารับ พบว่า สามารถ
           สมุนไพรที่มีรสขมมากที่สุด เช่น เพกา ผักขวง  รอง  จ�าแนกสมุนไพรออกได้จ�านวน 6 กลุ่มรส โดยจะมี

           ลงมาจะเป็นรสเผ็ด, รสฝาด, รสหวาน  เช่น พริกชี้ฟ้า,   การใช้สมุนไพรที่มีรสขมมากที่สุด เช่น หางปลาช่อน
           ก�ายาน, ผักปลัง ตามล�าดับ นอกจากนี้บางต�ารับยังใช้  โคกกระสุน รองลงมาจะเป็นรสเผ็ดร้อน เช่น หอมแดง
           รสจืดร่วมด้วย เช่น เสลดพังพอนตัวเมีย        พิมเสน  นอกจากนี้บางต�ารับยังใช้รสจืดร่วมด้วย เช่น

                3.6  กลุ่มอาการอักเสบ                  เสลดพังพอนตัวเมีย
                   จากการศึกษาต�ารับยาสมุนไพรรักษาโรค     3.10  กลุ่มไม่ทราบสาเหตุอาการของโรคที่แน่ชัด

           กลุ่มอาการอักเสบทั้ง 23 ต�ารับ พบว่า สามารถจ�าแนก        จากการศึกษาต�ารับยาสมุนไพรรักษาโรค
           สมุนไพรออกได้จ�านวน 8 กลุ่มรส โดยจะมีการใช้  กลุ่มไม่ทราบสาเหตุอาการของโรคที่แน่ชัดทั้ง 16
           สมุนไพรที่มีรสฝาดมากที่สุด เช่น ขมิ้นอ้อย นางแย้ม     ต�ารับ พบว่า สามารถจ�าแนกสมุนไพรออกได้จ�านวน

           รองลงมาจะเป็นรสขม เช่น หญ้าแพรก ก้างปลาเครือ     6 กลุ่มรส โดยจะมีการใช้สมุนไพรที่มีรสขมมากที่สุด
           นอกจากนี้บางต�ารับยังใช้รสเปรี้ยวร่วมด้วย เช่น   เช่น สะเดา ว่านเพชรหึง รองลงมาจะเป็นรสเมาเบื่อ

           มะขามป้อม                                   เช่น ขอบชะนางแดง ขอบชะนางขาว  นอกจากนี้บาง
                3.7  กลุ่มอาการบาดแผล                  ต�ารับยังใช้รสหวานร่วมด้วย เช่น ค�าฝอย
                   จากการศึกษาต�ารับยาสมุนไพรรักษาโรค

           กลุ่มอาการบาดแผลทั้ง 9 ต�ารับ พบว่า สามารถจ�าแนก           บทวิจ�รณ์
           สมุนไพรออกได้จ�านวน 9 กลุ่มรส โดยจะมีการใช้         ในการศึกษาครั้งนี้สามารถรวบรวมต�ารับ
           สมุนไพรที่มีรสฝาดมากที่สุด เช่น ไพล มังคุด  รองลง  ยาสมุนไพรรักษาโรคผิวหนังได้ทั้งหมดจ�านวน 133

           มาจะเป็นรสเผ็ดร้อน เช่น ขมิ้นชัน พริกไทย  นอกจาก  ต�ารับ มีวิธีการใช้ที่พบมากที่สุด คือ การทา 72 ต�ารับ
           นี้บางต�ารับยังใช้รสเค็มร่วมด้วย เช่น เหงือกปลาหมอ   (54.13%) การกิน 41 ต�ารับ (30.83%) การอาบ 14
                3.8  กลุ่มอาการความผิดปกติของระบบภายใน  ต�ารับ (10.53%) การพ่น 3 ต�ารับ (2.26%) การแช่ 1

           ร่างกาย                                     ต�ารับ (0.75%) การพอก 1 ต�ารับ (0.75%) และการ
                   จากการศึกษาต�ารับยาสมุนไพรรักษาโรค  ล้างแผล 1 ต�ารับ (0.75%) อธิบายได้ว่าเนื่องจากการ

           กลุ่มอาการความผิดปกติของระบบภายในร่างกายทั้ง   ทาเป็นวิธีการใช้ยาที่นิยมมากที่สุดในการรักษาโรค
           1 ต�ารับ พบว่า สามารถจ�าแนกสมุนไพรออกได้จ�านวน   ผิวหนัง เนื่องจากเป็นการใช้เฉพาะที่ท�าให้ร่างกาย
   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207