Page 199 - J Trad Med 21-1-2566
P. 199
J Thai Trad Alt Med Vol. 21 No. 1 Jan-Apr 2023 179
โดยในการศึกษาได้บทความจากการสืบค้นตาม อาการภูมิแพ้ กลุ่มอาการอักเสบ กลุ่มอาการบาดแผล
ค�าสืบค้น จ�านวน 46 บทความ ซึ่งมาพิจารณาตาม กลุ่มอาการความผิดปกติของระบบภายในร่างกาย
เกณฑ์คัดเข้าและคัดออกแล้ว เหลือจ�านวนทั้งสิ้น 12 กลุ่มอาการพิษจากสัตว์ และกลุ่มไม่ทราบสาเหตุ
บทความ ซึ่งสามารถรวบรวมต�ารับยาสมุนไพรรักษา อาการของโรคที่แน่ชัด โดยมีล�าดับขั้นตอนดังต่อไปนี้
โรคผิวหนังได้ทั้งหมดจ�านวน 133 ต�ารับ 7.1.1 การจัดแฟ้ม (establishing files) คือ
การน�าข้อมูลต�ารับยาสมุนไพรทั้งหมดที่ได้จากการ
ก�รรวบรวมและวิเคร�ะห์ข้อมูล (data extrac- ทบทวนวรรณกรรมมาทบทวน และจัดหมวดหมู่ตาม
tion) 10 กลุ่มโรค
1. ก�าหนดค�าค้นหาเพื่อใช้ในการสืบค้น 7.1.2 การลงรหัสข้อมูล (coding the data)
2. ค้นหางานวิจัยจากฐานข้อมูลทั้ง 4 ฐาน คือการน�าสมุนไพรไปก�าหนด รสยา โดยอ้างอิงตาม
3. คัดเลือกหรือรวบรวมต�ารับยาจากงานวิจัย ต�าราแพทย์แผนไทย
ตามเกณฑ์คัดเข้า คัดออก 7.1.3 การจัดประเภทของข้อมูล (identify
4. ตรวจสอบชื่อวิทยาศาสตร์ของพืช (plant unit) คือการจัดกลุ่มสมุนไพรในแต่ละต�ารับ โดย
identification) โดยใช้เอกสารทางอนุกรมวิธานพืช พิจารณาจากรสยา
ทั้งของประเทศไทย (flora of Thailand) และประเทศ 7.1.4 การพัฒนาและการสร้างหมวดหมู่
เพื่อนบ้าน (developing categories) น�าข้อมูลสมุนไพรที่จัด
5. ตรวจสอบชื่อเครื่องยาสมุนไพร รสยา และ กลุ่มจากข้อ 7.1.3 และแจงนับความถี่ของรส ตรวจ
สรรพคุณ โดยอ้างอิงตาม ต�าราอ้างอิงยาสมุนไพรไทย สอบวิเคราะห์ข้อมูล แล้วน�ามาตีความเพื่อพัฒนาและ
เล่ม 1-4 เป็นล�าดับแรก หากไม่มีสมุนไพรดังกล่าวจะ สร้างหมวดหมู่ของข้อมูล
พิจารณาเลือกจากหนังสือคัมภีร์เภสัชรัตนโกสินทร์ 7.1.5 การเชื่อมโยงหาความสัมพันธ์ของ
6. ศึกษาข้อมูลการใช้สมุนไพรด้วยวิธีการหา หมวดหมู่ (interpretively determine connec-
ค่าความถี่ ร้อยละของวิธีการใช้ วงศ์พืช ชนิดของ tions) น�าหมวดหมู่ของสมุนไพร ที่จัดได้มาหาความ
สมุนไพร รสยา ส่วนที่ใช้ และค�านวณหาค่าความถี่ สัมพันธ์กัน
ในการใช้พืชสมุนไพร โดยใช้สูตร Frequency Ratio 7.1.6 การตรวจสอบความถูกต้อง (verifica-
(FR) tion) น�าข้อมูลที่วิเคราะห์แล้วมาตรวจสอบซ�้าเพื่อให้
7. ศึกษาโครงสร้างต�ารับยารักษาโรคผิวหนัง เกิดความถูกต้องของข้อมูล
ตามหลักการเภสัชกรรมไทย ด้วยวิธีการวิเคราะห์ 7.1.7 การสรุปและรายงานการวิจัย (reporting)
เนื้อหา (content analysis) ตาม 10 กลุ่มโรค ซึ่ง ผู้วิจัยท�าการปรับปรุงแก้ไขเนื้อหา การเขียนรายงาน
แบ่งตามงานวิจัยของอรทัย เนียมสุวรรณ และคณะ [5] มีความคิดรวบยอดที่สมบูรณ์ กระชับ ชัดเจน และ
คือ กลุ่มอาการติดเชื้อรา กลุ่มอาการติดเชื้อไวรัส กลุ่ม มีการน�าเสนอผลการวิจัยเป็นลักษณะพรรณนา
อาการติดเชื้อแบคทีเรีย กลุ่มอาการติดเชื้อปรสิต กลุ่ม (descriptive explanation)