Page 101 - J Trad Med 21-1-2566
P. 101

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 1  Jan-Apr  2023  81




            ตารางที่ 4  ค่าความแปรปรวนภายในกลุ่มก่อนและหลังครั้งที่ 3, 5, 7 และ 10

                                         sum of s             Mean                    partial et al
             ตัวแปร                                  df                 F        sig
                                         quares              square                     squared
             จ�านวนครั้งที่วัด น�้าหนัก   161.72    2.42     66.75    73.74    0.000*   0.626
             with cell                   96.50     106.60    0.905
             จ�านวนครั้งที่วัดค่าดัชนีมวลกาย   20.82   2.47   8.40    78.40    0.000*   0.641

             with cell                   11.68     108.99    0.107
             จ�านวนครั้งที่วัด เส้นรอบเอว   126.40   2.23    56.64    49.22    0.000*   0.528
             with cell                   112.99     176      0.642
             จ�านวนครั้งที่วัด เส้นรอบสะโพก   80.28   2.87   27.91    41.53    0.000*   0.486

             with cell                   85.05     126.57    0.672
             จ�านวนครั้งที่วัด ร้อยละสัดส่วน   112.43   4.00   28.10   15.66   0.000*   0.263
             ไขมันในร่างกาย
             with cell                   315.86     176      1.795
             จ�านวนครั้งที่วัด ร้อยละ    96.80      2.93     33.02    18.12    0.000*   0.292
             มวลกล้ามเนื้อ
             with cell                   235.07    128.98     1.82

             *มีนัยส�าคัญทางสถิติ (p < 0.01)




                           อภิปรำยผล                    อย่างมีค่านัยส�าคัญทางสถิติ (p < 0.05) ภายในการ

                 จากการวิจัยพบว่า การฝังเข็มโดยเลือกใช้จุด  ฝังเข็มครั้งที่ 3 ร้อยละสัดส่วนไขมันในร่างกายเฉลี่ย
            เพียง 5 จุดนั้น สามารถลดน�้าหนัก เส้นรอบเอว เส้น  หลังสิ้นสุดการรักษาลดลง 1.99 ± 2.11 ซึ่งสามารถ

            รอบสะโพก ค่าดัชนีมวลกาย ร้อยละสัดส่วนไขมัน  ลด ร้อยละสัดส่วนไขมันในร่างกาย ได้อย่างมีค่านัย
            ในร่างกาย ได้อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (p < 0.01)    ส�าคัญทางสถิติ  (p < 0.01) ภายในการฝังเข็มครั้งที่
            หลังสิ้นสุดการรักษาพบว่าน�้าหนักตัวเฉลี่ยลดลง   7 สอดคล้องกับงานวิจัยของ Zhang huimin  ที่
                                                                                            [16]
            2.49 ± 1.36 กิโลกรัม ค่าดัชนีมวลกาย (BMI) เฉลี่ย  ศึกษาเกี่ยวกับผลของการรักษาด้วยการฝังเข็มต่อองค์
                                2
            ลดลง 0.89 ± 0.45 kg/m  เส้นรอบสะโพกเฉลี่ยลดง  ประกอบของร่างกายในผู้ป่วยโรคอ้วน โดยได้เลือกใช้
            ลง 2.33 ± 1.49 นิ้ว ซึ่งการฝังเข็มสามารถลดน�้าหนัก   จุด จงหว่าน (CV12) เซี่ยหว่าน (CV10) ชี่ไฮ่ (CV6)

            ค่าดัชนีมวลกาย (BMI) และเส้นรอบสะโพกได้อย่างมี  กวานหยวน (CV4) เทียนซู (ST25) ไว่หลิง (ST26)
            ค่านัยส�าคัญทางสถิติ  (p < 0.01)  ภายในการฝังเข็ม  จู๋ซานหลี่ (ST36) เฟิงหลง (ST40) ไว่กวน (SJ5) เหอกู่

            ครั้งที่ 3  หลังสิ้นสุดการรักษาพบว่าเส้นรอบเอวเฉลี่ย  (LI4) ซานอินเจียว (SP6) และจุดอื่น ๆ มากกว่า 14 จุด
            ลดลง 2.23 ± 1.52 นิ้ว ซึ่งสามารถลดเส้นรอบเอวได้  ในการฝังเข็ม โดยฝังเข็มวันเว้นวัน สัปดาห์ละ 3 ครั้ง
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106