Page 80 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 80

494 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2565




           กระบวนการเตรียมไม่สูงและเตรียมได้ง่าย อีกทั้งใช้  การเก็บที่อุณหภูมิห้องเป็นเวลา 1 เดือน เม็ดกลมไม่
           เวลาในการเตรียมสั้น ผลของความร้อนจากอุปกรณ์  กร่อน และแตกตัวได้ดี ทั้งนี้วิธีการทดสอบการแตก

           ต่อเม็ดกลมมีน้อย ซึ่งจะท�าให้เม็ดกลมสารสกัดที่  ตัวจะเป็นวิธีการทดสอบที่เลียนแบบการน�าผลิตภัณฑ์
           เตรียมมีความคงตัว การใช้ Avicel PH101 เป็น  ไปใช้ในทางปฏิบัติ ซึ่งแตกต่างจากวิธีการทดสอบใน
           สารก่อเม็ดกลมเนื่องจากเป็นสารที่นิยมใช้ในการ   เภสัชต�ารับเนื่องจากไม่ได้น�าเม็ดกลมไปใช้รับประทาน

           เตรียมเม็ดกลมในต�ารับยาเม็ดและจากการเตรียม  แล้วดูการแตกตัวในกระเพาะหรือล�าไส้ เนื่องจากข้อ
           เป็นเม็ดกลมของสารสกัดใบเตยท�าให้ได้เม็ดที่กลม   จ�ากัดในการได้ตัวอย่างฟันมาศึกษาประสิทธิผลใน

           เมื่อพิจารณาจากค่าความกลม ในสูตรต�ารับมีการ  การย้อมคราบจุลินทรีย์ของเม็ดกลมสารสกัดใบเตย
           ใช้ sodium starch glycolate เพื่อเป็นสารช่วย  ในช่วงการระบาดโควิด-19 ท�าให้ระยะเวลาในการ

           แตกตัวของเม็ดกลม แต่ผลการย้อมพบว่าไม่ติด    ศึกษาเสถียรภาพทางเคมีค่อนข้างสั้นคือ 1 เดือน แต่
           คราบ จึงมีการใช้สารช่วยติดสีร่วมในสูตร เนื่องจาก  จากผลการศึกษาเสถียรภาพแสดงให้เห็นว่ารูปแบบ

           การศึกษาของศิรดา  การใช้สารช่วยติดสีร่วม    ของผลิตภัณฑ์มีผลต่อเสถียรภาพของสารสกัดใบเตย
                            [12]
           ด้วยจะท�าให้ย้อมติดสีได้ดีกว่า แต่ทุกสูตรก็ย้อม  เพราะยาสีฟันสารสกัดใบเตยจากการศึกษาของศิรดา [12]
           คราบไม่ได้ อาจเนื่องจากคุณสมบัติของ Avicel   เมื่อเก็บไว้ที่อุณหภูมิห้องเป็นเวลา 1 เดือน ปริมาณ

           PH101 ซึ่งไม่ละลายน�้า แม้ว่าเม็ดกลมจะแตกตัว  สารสีลดลงถึง 40% แต่เม็ดกลมใบเตยซึ่งเป็นรูปแบบ

           แต่สีส่วนใหญ่ยังอยู่ในเม็ดกลมไม่ค่อยละลายออก  ของแข็งที่เตรียมได้มีความคงตัวกว่ารูปแบบยาสีฟัน
           มา จึงลองใช้ Avicel RC-591 เนื่องจากมีการใช้  โดยปริมาณสารสีลดลงเพียงเล็กน้อยประมาณ 3%
                                   [15]
           เตรียมเม็ดกลมโดยวิธีนี้เช่นกัน  เมื่อเตรียมปรากฏ   จากปริมาณเริ่มต้นหลังเก็บไว้ในสภาวะเดียวกันเป็น
           ว่าไม่เกิดเม็ดกลม แต่เมื่อน�าไปย้อมติดคราบได้ดี  เวลา 1 เดือน
           กว่า อาจเนื่องจากองค์ประกอบของ Avicel RC-591

           ประกอบด้วย sodium carboxymethylcellulose                    ข้อสรุป
           ร่วมด้วยซึ่งละลายน�้าได้ และมีคุณสมบัติในการ     จากการศึกษาสรุปได้ว่าสารสกัดใบเตย

           ยึดเกาะดี การศึกษานี้จึงน�าคุณสมบัติของ Avicel   สามารถพัฒนาเป็นสีย้อมคราบจุลินทรีย์บนผิวฟัน
           PH101 และ Avicel RC-591 มาร่วมกันโดยพัฒนา   ที่มีเสถียรภาพได้เมื่อเตรียมในรูปเม็ดกลมของสาร

           เป็นสัดส่วน 10:90, 20:80 และ 30:70 โดยที่จะไม่  สกัดใบเตยหอมโดยไม่ใช้ความร้อนด้วยน�้าแล้วท�าให้
           ลดสัดส่วนของ Avicel RC-591 มากกว่านี้เพราะ  แห้งด้วยวิธีแช่เยือกแข็ง และเตรียมเม็ดกลมด้วยวิธี
           อาจมีผลต่อการย้อมติดคราบ ซึ่งสัดส่วน 30:70 ให้  extrusion-spheronization โดยพบว่าเม็ดกลมที่มี

           เม็ดกลมที่มีค่าความกลมใกล้เคียงกับการใช้ Avicel   สารสกัดใบเตย 15% ผสมกับ Avicel RC-591 และ
           PH101 เมื่อน�าไปย้อมคราบฟัน โดยเปรียบเทียบเมื่อ  Avicel PH101 ในอัตราส่วน 70:30 และผสมอะลัม

           ใช้และไม่ใช้สารช่วยติดสี พบว่า สูตรที่ใช้อะลัมเป็น  10% เป็นสูตรเม็ดกลมที่ดีที่สุดและย้อมติดสีคราบ
           สารช่วยติดสี ติดสีได้ดีและมีเสถียรภาพทางเคมีจาก  บนผิวฟันได้ดี ทั้งนี้ต�ารับเม็ดกลมที่เตรียมได้ยังไม่ใช่
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85