Page 79 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 79

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 20  No. 3  Sep-Dec  2022  493




                                                        ฟัน ดูความเข้มข้นที่เหมาะสมจากการศึกษาของศิรดา [12]
                                                        ได้เตรียมยาสีฟันสารสกัดใบเตย 3 ความเข้มข้น คือ

                                                        9% 13% และ 16% โดยพบว่าความเข้มข้น 16%
                                                        ย้อมคราบได้ดีที่สุด ในการศึกษานี้จึงเลือกศึกษา
                                                        ในช่วงความเข้มข้นของสารสกัดระหว่าง 10-20%

                                                        แต่เนื่องจากข้อจ�ากัดของการเตรียมเม็ดกลมที่ต้อง
                                                        เตรียมในปริมาณอย่างน้อยสุด คือ 50 กรัม ท�าให้ต้อง

               ภ�พที่ 3  ตัวอย่างเม็ดสารสกัดใบเตยสูตรที่ 10  ใช้สารสกัดในการศึกษา ตั้งแต่ 5 กรัม จนถึง 10 กรัม
                                                        ต่อสูตร และสารสกัดในการทดสอบมาจากการสกัด

                                                        เองซึ่งจากการทดลองสารสกัดประมาณ 50 กรัม ได้
            เกิน 1.0% แสดงว่าเม็ดกลมมีความแข็งเพียงพอและ  จากการสกัดใบเตยสด 5 กิโลกรัม อีกทั้งยังไม่รู้ว่ารูป

            เม็ดกลมสามารถแตกตัวได้ดีในน�้า โดยมีสีของสาร  แบบเม็ดกลมมีผลต่อการย้อมคราบหรือไม่ จึงเลือก
            สกัดใบเตยละลายออกมา ผลการศึกษาเสถียรภาพ     ความเข้มข้นที่จะมาผสมในเม็ดกลมจากการศึกษา

            ของเม็ดกลมสูตรที่ 10 เมื่อเก็บไว้ที่อุณหภูมิห้องที่  การย้อมโดยใช้สารสกัดใบเตยด้วยน�้า สารสกัดใบเตย
            เวลาเริ่มต้น มีปริมาณคลอโรฟิลล์ 100.46 ± 4.86%   ด้วยน�้าย้อมคราบได้ใกล้เคียงกับยาสีฟันสารสกัดใบ

            (n = 3) หลังเก็บไว้ 1 เดือน ปริมาณคลอโรฟิลล์เป็น   เตยเพราะที่ความเข้มข้น 15% ย้อมติดคราบได้ดีเมื่อ
            97.43 ± 4.45% (n = 3) คิดเป็น 97% ของปริมาณเริ่ม  ย้อมเทียบกับสารละลายเออริโทรซีน แต่ไม่ใช้ในรูป
            ต้น แสดงถึงการมีปริมาณสารสีคลอโรฟิลล์ที่ดี คือ  สารสกัดเนื่องจากสารสกัดจะชื้นง่าย มีผลต่อความ

            มีปริมาณคลอโรฟิลล์มากกว่า 90% แสดงว่าต�ารับที่  คงตัวของสารสี และการใช้ควบคุมปริมาณได้ยาก
            พัฒนาขึ้นมีเสถียรภาพทางเคมีที่อุณหภูมิห้อง ส่วน  ปัญหาอีกประการในการย้อมคราบด้วยสารสกัดคือ

            ลักษณะทางกายภาพของเม็ดกลม ไม่มีการเปลี่ยน   การแยกไม่ออกระหว่างคราบหรือไม่ใช่คราบ จึงจ�าเป็น
            ของสี การเกาะตัว การแตกหัก หรือการเปลี่ยนแปลง  ต้องใช้สารละลายเออริโทรซีนมาย้อมเทียบบนโมเดล

            ของลักษณะทางกายภาพอื่น ๆ ของเม็ดกลม         ฟันเดียวกัน เพราะสีสังเคราะห์ย้อมเห็นคราบชัดเจน
                                                        แล้วถ่ายภาพเทียบกัน ในบางครั้งจะย้อมสีบนโมเดล
                           อภิปรำยผล                    ฟันก่อนแล้วย้อมทับด้วยสารสกัดเพื่อยืนยันต�าแหน่ง


                 การศึกษานี้เป็นการศึกษาต่อยอดของศิรดา [12]   คราบ และวิธีการดูผลหลังย้อมจะต้องล้างน�้าออก
            โดยใช้วิธีการสกัดจากการศึกษาดังกล่าวให้ได้สารใบ  เพื่อก�าจัดสีส่วนเกินออก และดูเฉพาะคราบที่ติดสี

            เตยสีเขียวสด ส�าหรับการศึกษาความเข้มข้นที่เหมาะสม   ปัญหาอีกประการคือ ฟันที่ได้มาบางครั้งมีคราบน้อย
            ของสารสกัดใบเตยเพื่อใช้ย้อมคราบฟันของเม็ด   จนใช้ไม่ได้

            กลม วิธีที่ถูกต้องคือ น�ามาเตรียมเป็นต�ารับเม็ดสาร     การเตรียมเม็ดกลมเลือกวิธี extrusion-
            สกัดใบเตยที่ความเข้มข้นต่าง ๆ แล้วไปย้อมบนโมเดล   spheronization เนื่องจากวิธีนี้จะเกิดความร้อนใน
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84