Page 188 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 188

602 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2565




           IL-6 ได้ตั้งแต่ที่ความเข้มข้น 20 mM เมื่อศึกษากลไก  E. coli, Salmonella, Shigella ซึ่งก่อให้เกิดอาการของ
           ของการยับยั้งดังกล่าวพบว่า deoxysappanone B มี  โรคอาหารเป็นพิษ ได้แก่ อาเจียน ถ่ายเหลวและอาการ

           การยับยั้งการท�างานของ NF-κB ท�าให้การสร้างสาร  ปวดท้อง ในการรักษาโรคดังกล่าวในทางแผนปัจจุบัน
           กระตุ้นในกระบวนการอักเสบนั้นมีระดับที่ลดลง [16]  มีทั้งการให้ยาปฏิชีวนะเพื่อฆ่าเชื้อ การให้ยาแก้อักเสบ
                นอกจากสาร brazilin และ deoxysappa-     เพื่อลดอาการอักเสบในล�าไส้ และการให้ยารักษาตาม

           none B แล้ว สารส�าคัญตัวอื่น ๆ ของแก่นฝาง ได้แก่   อาการ เช่น ยาลดอาการท้องอืด ยาบรรเทาอาการ
           protosappanin A, sappanchalcone, brazilane,   ปวดท้อง
           3-deoxysappanchalcone มีฤทธิ์ยับยั้ง nitric       ในทางการแพทย์แผนไทยมีการจ่ายยาสมุนไพร

           oxide โดยมีค่า IC 50 เท่ากับ 12.5, 31.0, 36.7 และ   ให้แก่ผู้ป่วยในหลายรูปแบบ เช่น การต้มน�้า หรือ
           58.6 mM ตามล�าดับ [18,25]  โดย protosappanin A   การดองเหล้า เป็นต้น ดังนั้นการใช้แก่นฝางต้มน�้า
           และ 3-deoxysappanchalcone มีกลไกยับยั้ง nitric   หรือการดองเหล้าอาจจะช่วยสกัดสารส�าคัญในฝาง

           oxide ได้ในระดับ mRNA เช่นเดียวกับสาร brazilin   ที่มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ได้แก่ brazilin ซึ่งพบว่า
           และ deoxysappanone B [18]                   มีฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียทั้งแกรมบวกและ

                2.5 ควำมเป็นพิษของแก่นฝำง              แกรมลบได้หลายชนิดไม่ว่าจะเป็น S. aureus, S.
                สารสกัดชั้นน�้าของแก่นฝางถูกน�ามาทดสอบ  enterica Typhimurium, B. cereus, V. cholerae
           ความเป็นพิษกึ่งเรื้อรังในหนู โดยให้หนูทดลอง   และ E. coli โดยเฉพาะอย่างยิ่งการยับยั้งแบคทีเรีย

           รับประทานสารสกัดชั้นน�้าของแก่นฝางที่ขนาด 250,   ที่มีการดื้อต่อยาปฏิชีวนะในกลุ่ม methicillin และ
           500 และ 1,000 mg/kg ต่อน�้าหนักตัวของหนูติดต่อกัน  vancomycin โดยรูปแบบการใช้แก่นฝางไม่ว่าจะ

           เป็นเวลา 30 วัน ผลที่ได้พบว่าสารสกัดจากแก่นฝางที่  เป็นการต้มน�้า การใช้วิธีหมักในเหล้า ก็อาจมีส่วนช่วย
                                                 [27]
           ทุกขนาดไม่ก่อให้เกิดความผิดปกติในสัตว์ทดลอง    สกัดสารที่ยับยั้งแบคทีเรียได้ นอกจากการยับยั้งเชื้อ
           นอกจากนั้นเมื่อมีการทดสอบที่ความเข้มข้นสูงขึ้น   แบคทีเรียได้หลากหลายชนิดแล้ว แก่นฝางยังมีฤทธิ์

           โดยให้หนูทดลองรับประทานสารสกัดชั้นน�้าของฝาง  ต้านการอักเสบ โดยสามารถยับยั้งการผลิตสารใน
           ที่ขนาด 2,500, 3,500 และ 5,000 mg/kg ต่อน�้าหนัก  กระบวนการอักเสบ ได้แก่ IL-6, TNF-α ซึ่งจะมีส่วน
           ตัวของหนูติดต่อกันเป็นเวลา 28 วัน พบว่าฝางไม่ก่อ  ช่วยบรรเทาอาการอักเสบของล�าไส้เนื่องมาจากการติด

           ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ทั้งในส่วนของน�้าหนัก  เชื้อ การออกฤทธิ์ของแก่นฝางมาจากสารเคมีที่เป็น
           ตัวและอวัยวะต่าง ๆ [28]                     องค์ประกอบหลักคือ brazilin ซึ่งเป็นสารส�าคัญใน
                                                       กลุ่ม flavonoid ที่มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อแบคทีเรียและต้าน
                          บทวิจ�รณ์                    การอักเสบ นอกจากนั้นยังพบสารหลายชนิดในแก่น

                โรคอาหารเป็นพิษจากเชื้อแบคทีเรียเป็นโรคที่  ฝาง ได้แก่ deoxysappanone B, protosappanin

           พบได้บ่อยในประเทศไทย โดยเชื้อแบคทีเรียที่เป็น  A, sappanchalcone, brazilane, 3-deoxysap-
           สาเหตุส�าคัญของโรคนี้มีทั้งแบคทีเรียแกรมบวกและ  panchalcone สารเหล่านี้มีส่วนช่วยลดอาการอักเสบ
           แบคทีเรียแกรมลบ เช่น S. aureus, B. cereus,    ได้ ดังนั้นกลไกการออกฤทธิ์ของแก่นฝางต่อการช่วย
   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192   193