Page 187 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 187

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 20  No. 3  Sep-Dec  2022  601




            ต่างชนิดกันมีฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียที่ต่าง  ยังสามารถยับยั้งเชื้อแบคทีเรียดื้อยา MRSA และ
            กัน โดยมีรายงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์พบว่าสารสกัด  vancomycin enterococci โดยมีค่า MIC เท่ากับ

            ชั้นน�้าของแก่นฝางสามารถยับยั้งเชื้อ S. aureus ที่ดื้อ  16 และ 32 mg/mL [9,23]   ในส่วนของสารส�าคัญตัว
            ต่อยาปฏิชีวนะในกลุ่ม methicillin (MRSA) โดยมี  อื่น ๆ ที่พบในฝาง ได้แก่ protosappanin B พบว่า
            ค่าความเข้มข้นต�่าสุดในการยับยั้งเชื้อ (MIC) อยู่ที่ 64   เมื่อทดสอบที่ความเข้มข้น 80 mg/disc ด้วยวิธี disc

                  [19]
            mg/mL  นอกจากนั้นเมื่อทดสอบกับเชื้อแบคทีเรีย  diffusion สารดังกล่าวไม่มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ S. aureus
                                                                 [24]
            ดื้อยา MRSA ที่แยกได้จากผู้ป่วย พบว่าสารสกัดชั้น  และ MRSA  และยังไม่พบรายงานทางวิทยาศาสตร์
            น�้าของแก่นฝางมีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ MRSA ที่แยกได้จาก  ของสารส�าคัญตัวอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับฤทธิ์ต้านเชื้อ

            ผู้ป่วยในระดับปานกลาง โดยมีค่า MIC อยู่ในช่วง   แบคทีเรียที่เป็นสาเหตุของโรคอาหารเป็นพิษ
                             [20]
            1,250-5,000 mg/mL                                2.4 ฤทธิ์ต้ำนกำรอักเสบของสำรสกัดและสำร
                 ในขณะที่สารสกัดชั้นเมทานอลของแก่นฝาง   ส�ำคัญจำกแก่นฝำง

            สามารถยับยั้งเชื้อ MRSA โดยมีค่า MIC อยู่ที่ 32 mg/     สารสกัดชั้นเอทานอลของแก่นฝางมีฤทธิ์ยับยั้ง
               [19]
            mL  และสามารถยับยั้งเชื้อแบคทีเรียก่อโรคอาหาร  สารที่ก่อให้เกิดการอักเสบเมื่อทดสอบกับเซลล์เม็ด
            เป็นพิษชนิดอื่น ๆ ได้แก่ B. cereus, S. enterica   เลือดขาวชนิดแมคโครฟาจ โดยพบว่าสารสกัดดัง
            Typhi, V. cholerae โดยมีค่า MIC อยู่ในช่วง 16-64   กล่าวสามารถยับยั้งการหลั่ง IL-6 และ TNF-α ของ
                  [21]
            mg/mL  นอกจากนั้นสารสกัดชั้นเมทานอลสามารถ   เซลล์เม็ดเลือดขาวได้โดยมีค่าความเข้มข้นที่ยับยั้ง
            ยับยั้งเชื้อ MRSA ที่แยกจากผู้ป่วยได้ดีโดยมีค่า MIC   การผลิตสารดังกล่าวได้ร้อยละ 50 (IC 50) อยู่ที่ 8 และ
            อยู่ในช่วง 156-312 mg/mL  นอกเหนือจากการสกัด  36 mg/mL ตามล�าดับ  ในส่วนของสารส�าคัญที่แยก
                                 [20]
                                                                         [25]
            ฝางด้วยเมทานอลและน�้าแล้ว ยังพบว่ามีรายงานการ  ได้จากแก่นฝางนั้นพบว่าสาร brazilin มีฤทธิ์ยับยั้ง
            สกัดฝางด้วยเอทานอลและเมื่อน�าไปทดสอบฤทธิ์ต้าน  สารที่กระตุ้นให้เกิดกระบวนการอักเสบ ได้แก่ nitric
            เชื้อแบคทีเรียพบว่ามีฤทธิ์ยับยั้ง B. cereus, E. coli,   oxide, prostaglandin E2, IL-6 และ TNF-α โดย

            S. aureus และ S. enterica Typhimurium โดยมี  พบว่ามีค่า IC 50 อยู่ที่ 10.3, 12.6, 18.0 และ 87.2 mM
            ค่าความเข้มข้นต�่าสุดในการยับยั้งเชื้อเท่ากับ 1, 2, 8   ตามล�าดับ โดยกระบวนการยับยั้งสารดังกล่าวของ
            และ 250 mg/mL [9,22]                        brazilin นั้นพบว่าออกฤทธิ์ยับยั้งตั้งแต่กระบวนการ

                 เมื่อท�าการศึกษาสารออกฤทธิ์ที่ต้านเชื้อ  สร้างสารก่อการอักเสบในระดับ mRNA และยับยั้ง
            แบคทีเรียในฝางพบว่ามีการน�าสารสกัดชั้นเมทานอล  การท�างานของ NF-κB ส่งผลให้ไม่เกิดการสร้างสาร
            และสารสกัดชั้นเอทานอลของฝางมาท�าการแยกสาร   กระตุ้นในกระบวนการอักเสบ [23,25-26]  ในขณะเดียวกัน

            ออกฤทธิ์ พบว่า สารออกฤทธิ์ดังกล่าวคือ brazilin   สารส�าคัญที่พบในฝาง deoxysappanone B ซึ่งเป็น
            ซึ่งเป็นสารออกฤทธิ์ยับยั้งแบคทีเรียทั้งแกรมบวกและ  สารกลุ่ม homoisoflavonoids ก็มีฤทธิ์ยับยั้งสาร

            แกรมลบ ได้แก่ S. aureus, MRSA, S. enterica   ในกระบวนการอักเสบที่คล้ายคลึงกับ brazilin โดย
            Typhimurium และ E. coli โดยมีค่า MIC อยู่ใน  พบว่า deoxysappanone B สามารถยับยั้งการผลิต
            ช่วง 16-256 mg/mL  นอกจากนั้นสาร brazilin   nitric oxide, prostaglandin E2, TNF-α และ
                             [19]
   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192